จุดเริ่มต้นที่ทำให้น้ำมันดิบในตลาดโลกเริ่มมีราคาสูงขึ้น เมื่อหลายปีก่อนเกิดจากการบริโภคน้ำมันที ่เพิ่มขึ้นอย่างมากของประเทศจีน เศรษฐกิจที่เติบโตในอัตรา 10% ต่อปีนั้นต้องการทรัพยากรมหาศาลมาช่วยขับดัน
ความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากจีนทำให้ความต้องการใช้น้ำมันของโลกเข้าไปใกล้ขีดจำกัด ของการผลิตน้ำมันของโลกอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่มีแหล่งผลิตแหล่งใดแหล่งหนึ่งในโลกเกิดผลิตได้ น้อยกว่าปกติแค่นิดหน่อย ความขาดแคลนก็จะเกิดขึ้นทันที ราคาน้ำมันในช่วงที่ผ่านมาจึงมีความผันผวนเป็นอย่างมาก
โลกของเรานั้นยังมีน้ำมันที่ยังไม่ได้ถูกขุดขึ้นมาใช้อีกมากมายมหาศาล แต่ปัญหาก็คือว่าเรามีศักยภาพในการขุดน้ำมันขึ้นมาใช้เพิ่มขึ้นได้ค่อนข้างจำกัด คือเพิ่มขึ้นได้แค่เพียง 2% ต่อปีเท่านั้น ในขณะที่การบริโภคน้ำมันของโลกเพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดในช่วงที่ผ่านมาแต่อุปทานน้ำมันกลับเพิ่มขึ้นในอัตราที่คงเดิม จึงเป็นไปได้ว่าโลกของเราจะยังคงขาดแคลนน้ำมันอย่างนี้ต่อไปอีกระยะหนึ่ง จนกว่าอุปทานจะเริ่มไล่ตามอุปสงค์จนมีกำลังการผลิตส่วนเกินได้อีกครั้ง ในระหว่างนี้ ราคาน้ำมันจึงมีโอกาสที่จะผันผวนและอยู่ในระดับที่สูงโดยเฉลี่ย
ที่สุดแล้วน้ำมันไม่มีทางมีราคาสูงเพราะอุปสงค์ตลอดไปได้เพราะน้ำมันเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ต้นทุนเฉลี่ยของการผลิตน้ำมันดิบในปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ $20 ต่อบาร์เรลเท่านั้น แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า น้ำมันควรมีราคาแค่ $20 ในทางเศรษฐศาสตร์ สินค้าโภคภัณฑ์ที่จุดสมดุลไม่ได้มีราคาเท่ากับต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost) แต่มีราคาเท่ากับต้นทุนส่วนเพิ่ม (Marginal Cost) ต้นทุนส่วนเพิ่มคือต้นทุนของการผลิตน้ำมันบาร์เรลสุดท้ายที่ถูกนำมาสนองความต้องการของผู้บริโภคพอดี เป็นการยากที่จะคำนวณว่าปัจจุบันนี้ต้นทุนส่วนเพิ่มของน้ำมันดิบโลกอยู่ที่เท่าไร แต่เชื่อกันว่าน่าจะอยู่ที่ประมาณ $50 ต่อบาร์เรล ดังนั้นถ้าเชื่อทฤษฏีนี้น้ำมันจึงอาจจะยืนอยู่ในระดับที่สูงกว่า $50 ต่อบาร์เรลในระยะยาวก็ได้ น้ำมันคงไม่กลับไปที่ $20-$30 ได้อีกแล้ว เนื่องจากต้นทุนการผลิตน้ำมันแหล่งใหม่ๆ ที่อยู่ไกลแผ่นดินออกไปเรื่อยๆ มีราคาสูงขึ้น
เรื่องที่น่าเป็นห่วงเพราะอาจทำให้ราคาน้ำมันเข้าสู่จุดสมดุลได้ช้ากว่าที่คิดไว้มาก ก็คือการที่หลายประเทศที่เป็นเจ้าของแหล่งน้ำมันดิบเริ่มมีนโยบายที่จะยึดแหล่งน้ำมันเข้ามาเป็นกิจการของรัฐฯ การไล่บริษัทผลิตน้ำมันข้ามชาติออกไป ทำให้ขาดเทคโนโลยีในการปรับปรุงการผลิตและค้นหาแหล่งน้ำมันแหล่งใหม่ๆ เวเนซูเอล่าเริ่มผลิตน้ำมันได้ลดลง 25% ของที่เคยผลิตได้ ในขณะที่การบังคับให้บริษัทข้ามชาติยกกรรมสิทธิ์แหล่งปิโตรเลียมให้เป็นของรัฐบาลในรัสเซีย ก็กำลังทำให้ผลผลิตปิโตรเลียมในรัสเซียเพิ่มขึ้นในอัตราที่ช้าลงอย่างมาก ปัจจุบันอิรักก็ยังผลิตน้ำมันได้ไม่เท่ากับที่เคยผลิตได้ก่อนเกิดสงคราม การเมืองของอิหร่านก็กำลังตึงเครียด ปัญหาของประเทศเหล่านั้นทำให้ปัญหาเรื่องโอเปคลดกำลังการผลิตกลายเป็นเรื่องเล็กๆ ไปเลย
ส่วนแนวคิดที่ว่าน้ำมันแพงขึ้นเพราะการเก็งกำไรนั้นเป็นแนวคิดที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าผิดโดยสิ้นเชิง จริงอยู่ที่การเก็งกำไรอาจมีผลต่อราคาได้บ้างแต่การเก็งกำไรอย่างเดียว โดยไม่มีเหตุผลรองรับนั้นไม่สามารถสร้างราคาให้ยืนอยู่ในระดับสูงได้นาน เพราะอย่าลืมว่าในตลาดมีทั้งนักเก็งกำไรที่ long และนักเก็งกำไรที่ short ด้วย ถ้าราคาปรับตัวขึ้นไปโดยขาดเหตุผล ไม่ช้าไม่นาน นักเก็งกำไรที่ short จะช่วยทำให้ราคาปรับตัวลงมาใหม่
GoogleCyberSearch
Shared Items
Labels
- ႐ႊင္ျမဴးစရာ (3)
- Agri and Fishery (11)
- Art and Literature (2)
- Dhamma - Beliefs (7)
- Earth-Weather-Travel (8)
- Economy-Business-Finance (22)
- Energy (4)
- Fun/Humor (10)
- General (1)
- Health (3)
- History - Politics (11)
- Ideas - Opinions (6)
- IT (22)
- Life Style (7)
- Local (21)
- Society - Community (1)
- Technology (14)
- Travel (4)
- การเกษตร (2)
- ขำขัน (8)
- ท่องเทียว (4)
- เทคโนโลยี (11)
- เทคโนโลยี-วิทยาศาสตร์ (3)
- ธุรกิจ (4)
- บ้า้นและครอบครัว (1)
- ประวัติศาสตร์ (2)
- ปรัชญา - ธรรมะ (10)
- พม่า (11)
- พลังงาน (5)
- ระีนอง - เกาะสอง (25)
- เศรษฐกิจ (10)
- สังคม (9)
- สัตว์น้ำและอาหารทะเล (10)
- สุขภาพ - อาหาร (12)
- ကမၻာေျမ (2)
- က်န္းမာေရး (8)
- ခရီးသြားျခင္း (5)
- စားဝတ္ေနေရး (8)
- စာေပ၊ ယဥ္ေက်းမႈ (5)
- စီးပြား၊ကုန္သြယ္ (32)
- စုိက္ပ်ဳိးေရး (6)
- ဓမၼ - ဂမၺီရ (5)
- မိုးေလဝသ (1)
- ျပည္ျမန္မာ (13)
- လူမႈဘဝ (8)
- သိပၸံႏွင္႔နည္းပညာ (16)
- သီခ်င္းမ်ား (2)
- အေတြးအျမင္ (6)
- အေထြေထြ (8)
- ေဒသသတင္း (24)
- ေရလုပ္ငန္း (14)
- ႏိုင္ငံေရး (11)
Contact to Blogmaster at kawthaung@gmail.com
Vistors Stats
Friday, October 12, 2007
ราคาน้ำมัน
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
Kawthaung Glimpse 2008
Blog Archive
-
▼
2007
(201)
-
▼
October
(31)
- รวบพม่าลอบเข้าเมืองคาห้องเย็นรถสิบล้อขนปลา 51 คน
- ระนองคุมเข้มน้ำมันเถื่อนหลังราคาในประเทศพุ่งสูง
- ေကာ့ေသာင္းမွ အျဖဴအစိမ္းဝတ္ နအဖေထာက္ခံပြဲတက္သူ ေက်ာ...
- How can spam e-mail help fight HIV?
- Rising Oil High Price partly due to Hedge Funds!
- Paw Oo Thet's Paintings
- Thai employees are likely to see an average salary...
- Instant Noodle, becoming Thai Basic Commodity?
- Hoang Thuy Linh's Sex Tape Kills Her Acting Career
- WidgetBucks - Another Ads Choice
- Tips to (Automatically)Keep Your (older) Blog Posts
- ตชด.ระนองจับสาวพม่าลอบเดินทางไปทำงานที่สุราษฎร์
- ตะลึง! ภาพถ่ายม้าทรงที่ภูเก็ตหัวขาด
- Global hike likely to lift retail price of diesel
- ေကာ့ေသာင္းမွသံဃာမ်ား ရေနာင္းသုိ႕ ခရီးသြားခြင့္မျပဳ
- Foreign direct investment in Asia continues to rise
- Myeik - Islands Town
- Windows XP Genuine Problem
- Male's Special Chair
- ราคาน้ำมัน
- ေကာ့ေသာင္း ကမၻာလွည့္ ခရီးသည္ ဝင္ေပါက္တြင္ Royalty ...
- การชุมนุมประท้วงต่อต้าน รัฐบาลพม่าที่ขึ้นราคาเชื้อ...
- จีน&อินเดีย The Power of the World
- น้ำป่าไหลทะลักท่วมเขตเทศบาลระนอง
- พม่าประท้วงทำการค้าชายแดน จ.ระนอง ตกกว่า 2 ล้านบาท
- ค้าชายแดนแม่สอดอ่วม สารพัดปัญหารุมเร้า หวั่นสิ้นปี...
- Photos: Monks in Street of Kawthaung on September
- Thai investment in Burma affected
- ဆင္ေပါက္၏ပင္လယ္ေပ်ာ္သီခ်င္းမ်ား
- ASTVထိုင္းမီဒီယာသူေဌးၾကီး၏ ၿမန္မာအျမင္
- What the protest really means!
-
▼
October
(31)
Visitors
Visitor Link
Misc Synopsis
- ကံေကာင္းေသာ လူငယ္မ်ားသည္ သူ႔ဘဝတြင္ "ဘယ္စာကိုဖတ္၊ ဘယ္စာကို မဖတ္နဲ႔" ဟူေသာ အၾကံေပးခ်က္မ်ိဳး ရ႐ွိခဲ့၏။ ကံဆိုးေသာ လူငယ္မ်ားသည္ ဘာအၾကံေပးခ်က္မွ မရွိပါ။ ထိုအမ်ိဳးအစားထဲမွ စိတ္ဓာတ္အင္အား ျပည့္စံုေသာ လူငယ္မ်ား၊ ႀကိဳးစားလိုေသာ လူငယ္မ်ား၊ ႐ွာေဖြစူးစမ္းလိုေသာ လူငယ္မ်ားသည္ မည္သူ႔အကူအညီမွ် မပါဝင္ဘဲ မိမိတို႔ဘာသာ သင့္ေတာ္ရာရာကို ေ႐ြးခ်ယ္ သြားတတ္ၾကသည္။ တခ်ိဳ႔ကေတာ့ သူတို႔ ဘာကိုလိုခ်င္မွန္း သူတို႔ကိုယ္တိုင္ မသိသူမ်ား ျဖစ္ၾကပါသည္။ ေလာကတြင္ မိမိဘာ လိုခ်င္သည္ဟု မွန္ကန္စြာသိ၍ မိမိ လိုခ်င္ေသာ အရာကို ရေအာင္ယူႏိုင္ေသာ လူငယ္မ်ားလည္း ႐ွိၾကသည္။ လူတေယာက္ မိမိဘဝတြင္ ဘာလိုခ်င္သည္ ဟု အတိအက် သိလာ ရန္ စာအုပ္မ်ားစြာက တြန္းအားေပးႏိုင္သည္ဟု ကြၽန္မ ထင္ပါသည္။ ဂ်ဴး
- ဂန္ဘာရီနဲ ့နအဖ တို ့ရဲ ့ကေလးကလား လုပ္ရပ္မ်ား - နဖအ က ေဒၚစုကို ေနအိမ္မွာအက်ယ္ခ်ဳပ္ခ်ထားတာ တကမၻာလံုးသိပါတယ္။ ဘယ္လိုေနအိမ္မွာအက်ယ္ခ်ဳပ္ခ်ထားလဲဆိုရင္ အိမ္ေရွ ့တခါးကိုေသာ့နဲ ့ခတ္ထားတယ္။ ေဒၚစုျခံ၀န္းထဲမွာ စစ္တပ္ခ်ထားတယ္။ ေဒၚစုကို ေတြ ့ခ်င္တယ္တဲ့သူေတြက သူတို ့က ၀င္ေစဆိုတဲ့အမိန္ ့ရမွာ၀င္လို ့ရတယ္။ ေဒၚစု ရဲ က်မာေရးကို တာ၀န္ခံထားတဲ့ေဒါက္တာတင္မ်ိဳး၀င္းေတာင္ ၀င္ေတြ ့ျခင္တိုင္း၀င္ေတြ ့လို ့မရဘူး။ သန္းေရြ ရဲ ့ခြင့္ျပဳခ်က္ရမွေဒၚစုကိုေတြ ့ခြင့္ရတယ္။ ေဒၚစုေရွ ေနက ေဒၚစုကို ေတြ ့ျခင္တိုင္းေတြ ့လို ့မရဘူး။ အန္အဲလ္ဒီစီအီစီ ဆိုရင္လည္း ေဒၚစုကို အိမ္မွာေတာင္ေတြ ့ခြင့္မရၾကဘူး။ ဒီလို အေျခအေနမ်ိဳးမွာ ဂန္ဘာရီ ကိုယ္စားလွယ္နဲ ့ နအဖ ကိုယ္စားလွယ္က ေဒၚစုအိမ္ေရွ ့ကိုသြားျပီး ေဒၚေအာင္ဆန္းစုၾကည္ ဂန္ ဘာရီက ေတြ ့ျခင္လို ့ပါလို ့ အိမ္ေရွ ့ကေန ေလာစပီကာနဲ ့သြားေအာ္ေနတာ အေတာ့ကို ကေလးကလားဆန္ျပီ အရူးထတဲ့လုပ္ရပ္ျဖစ္ပါတယ္။ က်ေနာ္ေမးျခင္တာက သူတို ့မွာ ေဒၚစုအိမ္ကိုခတ္ထားတဲ့ေသာ့ရိွရဲ ့သားနဲ ့ဖြင့္ျပီး ၀င္သြားလိုက္ၾကပါလား။ အိမ္ကိုေသာ့ခတ္ထားတဲ့သူက တခါးဖြင့္ေပးပါလို ့ေအာ္ေနတာကေတာ့ အေတာကိုညဏ္နည္းလွၾကပါတယ္။ Ko Moe Thee Blog
- အဲဒီသ၀ဏ္လႊာနဲ႔ ပတ္သက္ၿပီး မေလးရွား၀န္ႀကီးခ်ဳပ္ ဘာဒါ၀ီက ျမန္မာႏိုင္ငံအေနနဲ႔ အာဆီယံရဲ႕ ျပည္တြင္း ေရး မစြက္ဖက္ေရးမူကို အကာအကြယ္မယူသင့္ဘူးလို႔ မိန္႔ခြန္းမွာ ထည့္သြင္းေျပာၾကားသြားပါတယ္။ ဒါ့အျပင္ အာဆီယံရဲ႕ အဓိကအဖြဲ႔၀င္ႏိုင္ငံျဖစ္တဲ့ မေလးရွားႏိုင္ငံက အဖြဲ႔ႀကီးရဲ႕ အဓိကမူတရပ္ျဖစ္တဲ့ ျပည္တြင္းေရး မစြက္ဖက္ေရးမူကို ျပန္လည္အနက္အဓိပၸၸၸၸၸါယ္ ဖြင့္ဆိုသင့္ၿပီလို႔ ေျပာၾကားခဲ့ပါတယ္။ / Dr.LwanSwe
- ရွစ္ေလးလံုး အေရးအခင္းနဲ႔အတူ နာဂစ္မုန္တိုင္းအေပၚ စစ္အစိုးရ တံု႔ျပန္မႈဟာ ျမန္မာႏိုင္ငံတြင္း မွာရွိတဲ့ အႀကီးမားဆံုး လူ႔အခြင့္အေရး ခ်ိဳးေဖာက္မႈေတြရဲ႕ “နိဂံုး” ျဖစ္မယ္လုိ႔ လူအမ်ားစုက ေမွ်ာ္ လင့္ထားၾကတယ္။ ဒါေပမယ့္ နိဂံုးျဖစ္ျဖစ္၊ မျဖစ္ျဖစ္ ဒီတႀကိမ္ေတာ့ ျမန္မာ့အေရးဟာ ျမန္မာ ႏိုင္ငံသားေတြ (“၈၈မ်ိဳးဆက္” ေက်ာင္းသားေတြဟာ ရဲ၀ံ့စြာနဲ႔ ေရွ႕ကေန ဦးေဆာင္ေနတယ္) တင္ မကေတာ့ဘူး ကုလသမဂၢ လံုျခံဳေရးေကာင္စီနဲ႔ ျမန္မာႏိုင္ငံရဲ႕ အာရွအိမ္နီးခ်င္းႏိုင္ငံေတြရဲ႕ ႏိုင္ငံေရး ဆႏၵေပၚမွာလည္း မူတည္ေနပါတယ္။ အႏွစ္ (၂၀) ဆိုတာ ရွည္လ်ားတဲ့ အခ်ိန္ကာလ ျဖစ္ေပမယ့္ သိပ္ေတာ့ ေနာက္မက်ေသးပါဘူး။ / New Era Journal
- Failed States Index 2008 - အားလံုးေပါင္း ၁၂ ခုရွိတဲ့ စံညႊန္းေတြထဲမွာ ျမန္မာႏိုင္ငံဟာ လူ႔အခြင့္အေရးစံညႊန္းမွာ အဖိႏွိပ္ခံရဆံုး တဖက္စြန္းမွာေရာက္ေနၿပီး ျပည္ပစြက္ဖက္မႈမွာေတာ့ အေစာကေရးသလို အနည္းဆံုးပါ၊ ဒီႏွစ္ခုက အမ်ားဆံုး နဲ႔ အနည္းဆံုး အစြန္းႏွစ္ဖက္ ေရာက္ေနတာကလြဲလို႔ က်န္တာေတြက ထိပ္ဆံုးမေရာက္တေရာက္မွာ။ ၂၀၀၅ တုန္းက ထိပ္ဆံုး ၂၀ ထဲမွာ ျမန္မာမပါဘူး၊ ၂၀၀၆ က်ေတာ့ နံပါတ္ ၁၈ နဲ႔ အေရွ႔တက္လာတယ္၊ ၂၀၀၇ မွာ အဆင့္ ၁၄၊ ေဟာ၊ အခု ၂၀၀၈ မွာ အဆင့္ ၁၂ ျဖစ္သြားၿပီ။ ဒီလို တႏိုင္ငံလံုးခ်ီၿပီး ညံ့ဖ်င္းေနတာ ဦးေဆာင္လမ္းျပေနတဲ့ေခါင္းေဆာင္ တာဝန္မကင္းဘူး၊ ဒါေၾကာင့္ ႏိုင္ငံေတြစာရင္းအျပင္ ေခါင္းေဆာင္ေတြရဲ့ စာရင္းကိုလည္း ျပဳစုထုတ္ျပန္ထားတယ္။ Degolar
0 comments:
Post a Comment