Ref - Posted by ကိုထိုက္ at May 31, 2008
Aung Lin Htut: :In 1998 May, I was in Tanintharyi division, Kawthoung city. We were based in the TaTatGyi Island, but for a front line they based in the Christie Island. That island is the water border between Burma and Thailand. When I said we, I meant together with Lt General Kyi Min from Navy. Now he is retired and served as secretary in the veteran organization. Another one is General Myint Swe, he is from Air force and now retired and another person is General Thura Myint Aung and currently he is responsible for SPDC south west command commander. These 3 people are from Army, navy and air force and Senior General Than Shwe arrange as (Ka Ka Kyi) for joint military force in TaTatGyi Military Base.
The station responsible for TaTatGyi base is Lt-colonel Mg Mg Tint. And Kawthaung base military operational Commander is Colonel Zaw Min. At the moment he is working for Ministry of Energy and general secretary of USDA. Under his commend , Commander in chief are Ka La Ya Lt Colonel Soe Tint and Lt Colonel Win Zaw.
Colonel Zaw Min and his commend were arrest 59 civilians, which include 3 years old girl and a woman who recently gave birth to a child. They are the normal civilians who use to live around the island and lived from cutting wood from forest.
But at that time the regional commander General Thiha Thura Sit Maung. He issued the statement 144 which not allow civilian to live in the island. I assumed at that time, they might be send back to Kawthoung and take action or taking the action under the immigration law. I believed they were arrested in April. In may, we received the order from the Military Headquarter in the middle of the night. The reason how we know _ I got that information from Lt General Kyi Min. Again he received that order from Ka Ka Kyi General Myint Swe via wire to execute all those civilian. He told all of us to carry out that order.
VOA: :Why?
Aung Lin Htut: :It’s difficult to give reason why? These are defenseless civilian who hasn’t got any weapon to attack us. I was very sad. These things shouldn’t happen to them but as an army officer I witness and experienced the whole atrocities.
Lt General Kyi Min told all of us, and as a staff member I had to listen. When Kyi Min told that order there were thura Myint Aung, mg mg thit and Myint Swe were there. And then thura Myint Aung said, that’s order comes from above, we must carry out as it is. But Myint Swe is a religious person and he said we should double check with the order where it comes from? Because when that order came, it was around 21:30 and normally general Maung Aye is drunk by that time. This order must be come from him because he was drunk!
So Lt General Kyi Min decided to double check with headquarters after he listened to these two points of view. And order not to pass it on to their staff.
Next day morning, he received the information from headquarter as that order came from Than Shwe and not from Maung Aye.
VOA: :Is there any chance to change that order?
Aung Lin Htut: :No not a chance. At that time General thura myint aung is senior than Colonel Zaw min and Colonel zaw min carried out the order. As far as I know, the army killed all these 59 civilians at the shore of that island and buried there. If you go and excavated, you will find the remains.
VOA: :So is that order was carried out by colonel Zaw Min and his commend?
Aung Lin Htut: :Yes, Colonel Zaw Min and his two commanders in chief were carried out that order. I still have some photos in my office in Rangoon. At that time together with Zaw Min, military intelligence Colonel Myint Oo, now he is in prison and he took these pictures secretively. He gave back to me when I went back to Rangoon. I took it and when I arrived to the office I shown it to general Kyaw San and after that kept it in my cabinet. I don’t know is still there or not!
VOA: :Is there any further discussion within military General?
Aung Lin Htut: :This is the minor incident for them. Since 1997 they instructed us to kill every one including child carried by a woman. That order was carried by General Maung Bo. This is official order carried out by mouth, especially when we are in battlefield.
VOA: :Which area?
Aung Lin Htut: :These order are carried out especially in Karen state, Mon state, Shan state and Tanintharyi division. These are the area they regards as brown area. Mainly these killing occur because of the force relocation from the military. Local’s villagers didn’t want to move and army force people to move in these methods.
VOA: :So that massacre in Christie Island was witness by you (U Aung Lin Htut)?
Aung Lin Htut: :Yes, that killing of 59 civilians is not the only one. After that incident one or two days later, there was a Thai fishing boat from Arakhan state coming down to Tanintharyi region. That fishing boat is legally registered in Arakhan port. That boat is going to Ranong to export their catch that boat came closed to Christie island. I am not sure 304 or 305 navy-ship but commander in chief is Aung Gyi. And they reported to Lt General Kyi Min and he passed that report to headquarter. Headquarter instructed the navy ship to kill all these people on that boat. They killed all 22 Thai people on Christie island. And they burnt down that ship in the sea. It took a week to sink that ship. So it’s all together 71 civilian.
VOA: :Is there any problem with Thai authorities?
Aung Lin Htut: :No, but nobody knew. Burmese general order in that region they instructed us to clear the area. They don’t want anyone alive and they officially said it. But these kind of action began from 1996… uhm….97 and carry on till today.
Aung Lin Htut is an ex-Military Intelligence, from Burmese Army. He now lives in USA.
GoogleCyberSearch
Shared Items
Labels
- ႐ႊင္ျမဴးစရာ (3)
- Agri and Fishery (11)
- Art and Literature (2)
- Dhamma - Beliefs (7)
- Earth-Weather-Travel (8)
- Economy-Business-Finance (22)
- Energy (4)
- Fun/Humor (10)
- General (1)
- Health (3)
- History - Politics (11)
- Ideas - Opinions (6)
- IT (22)
- Life Style (7)
- Local (21)
- Society - Community (1)
- Technology (14)
- Travel (4)
- การเกษตร (2)
- ขำขัน (8)
- ท่องเทียว (4)
- เทคโนโลยี (11)
- เทคโนโลยี-วิทยาศาสตร์ (3)
- ธุรกิจ (4)
- บ้า้นและครอบครัว (1)
- ประวัติศาสตร์ (2)
- ปรัชญา - ธรรมะ (10)
- พม่า (11)
- พลังงาน (5)
- ระีนอง - เกาะสอง (25)
- เศรษฐกิจ (10)
- สังคม (9)
- สัตว์น้ำและอาหารทะเล (10)
- สุขภาพ - อาหาร (12)
- ကမၻာေျမ (2)
- က်န္းမာေရး (8)
- ခရီးသြားျခင္း (5)
- စားဝတ္ေနေရး (8)
- စာေပ၊ ယဥ္ေက်းမႈ (5)
- စီးပြား၊ကုန္သြယ္ (32)
- စုိက္ပ်ဳိးေရး (6)
- ဓမၼ - ဂမၺီရ (5)
- မိုးေလဝသ (1)
- ျပည္ျမန္မာ (13)
- လူမႈဘဝ (8)
- သိပၸံႏွင္႔နည္းပညာ (16)
- သီခ်င္းမ်ား (2)
- အေတြးအျမင္ (6)
- အေထြေထြ (8)
- ေဒသသတင္း (24)
- ေရလုပ္ငန္း (14)
- ႏိုင္ငံေရး (11)
Vistors Stats
Saturday, May 31, 2008
Crime Against Humanity?
Labels: Local
ပင္လယ္ ငါးဖမ္း လုပ္ငန္းမ်ား ေမလအကုန္ စတင္ႏုိင္ရန္ ျပင္ဆင္ လ်က္ရွိ
Khitlunge 31/May/2008
နာဂစ္ေလျပင္းမုန္တုိင္း ဒဏ္အထိနာခဲ့သည့့္ အထဲတြင္ ပင္လယ္ငါးဖမ္းလုပ္ငန္းသည္ လည္းပါဝင္ပါသည္။ ငါးသားေပါက္ရာသီ ျဖစ္ေသာေၾကာင့္ ငါးဖမ္းသေဘၤာမ်ားေမလမွ ဇူလိုင္လကုန္အထိ ငါးဖမ္းနားရန္အတြက္ ယခုႏွစ္မွစၿပီး သတ္မွတ္ ထားပါသည္။ ပင္လယ္ငါးဖမ္းေလွ (သေဘၤာ ၊ ေမာ္ေတာ္) မ်ားအားလံုးဧၿပီလ ကုန္တြင္ဆိပ္ကမ္းသို႔ ျပန္ကပ္ထားသည္။“ ျပန္ကပ္ထားတဲ့ ေလွေတြကပိုၿပီး အဆံုးအရံႈးမ်ားတယ္။ နစ္တာနစ္၊ ကမ္းေပၚတင္တာတင္ျဖစ္ၾကတယ္။ ပင္လယ္ထဲ ေရာက္ေနတဲ့ ေလွေတြက လိႈင္းနဲ႔အလိုက္ သင့္ေမ်ာေနလို႔ အဆံုးအရံႈးပိုနည္းတယ္” လို႔ ေရလုပ္ငန္းလုပ္ကိုင္ေနတဲ့ ဦးထြန္းထြန္းက ေျပာျပပါသည္္။ ဖ်ာပံု၊ ဘုိကေလး၊ က်ိဳက္လတ္၊ ေဒးဒရဲ၊ ေဒသ မ်ားတြင္ စက္ေလွအစီး ေရခုႏွစ္ရာေက်ာ္ (၇၂၁) စီးနစ္ျမႇဳပ္ၿပီး စီးေရႏွစ္ေထာင္ခန္႔ (၁၇၂၁စီး) ပ်က္စီးေၾကာင္းသိရွိရသည္။ ပင္လယ္ ငါးဖမ္းေရးလုပ္ငန္းမ်ားအား ဧရာဝတီတိုင္းတြင္ အလံုးအရင္းႏွင့္ လုပ္ကိုင္ေနၾကပါသည္။ ေလျပင္းမုန္တုိင္းေၾကာင့္ ပင္လယ္ငါးဖမ္းေလွေတြနစ္တာနစ္၊ ကုန္ေပၚတင္တာတင္ျဖစ္ကုန္ၾကသည္။ ကမ္းနားတြင္အေကာင္းပကတိ က်န္ရွိေသာေလွ နည္းသည္။ ေရထဲတြင္ ျမဳပ္ေနေသာေလွမ်ား စက္ေတြေရငန္ဝင္ၿပီး အပ်က္အစီးရွိပါသည္။ စက္ေလွပိုင္ရွင္မ်ား စုေပါင္းၿပီးေရငုပ္အဖြဲ႔မ်ားအား ေပ်ာက္ဆံုးနစ္ျမဳပ္ေနေသာ ေလွမ်ားျပန္လည္ရွာေဖြေဖာ္ယူေပးဖုိ႔ အပ္ႏွံထားသည္။ ေလွတစ္စီးကို က်ပ္သိန္း၇၀၀ေက်ာ္ခန္႔ တန္ေၾကးရွိၿပီး ေဖာ္ခအျဖစ္ ေလွအရြယ္အစားကို လိုက္၍္က်ပ္၁၅သိန္း၊ သိန္း၃၀၊ သိန္း၆၀ ေပးရသည္္။ ေဖာ္ၿပီးလွ်င္္ ကုန္ေပၚဆြဲတင္ၿပီး ေလွၾကံ့ခိုင္ေရးလုပ္ၾကသည္္။ ပင္လယ္ဒီလိႈင္း ရိုက္ပုတ္သယ္ေဆာင္သြား၍ ကုန္းေပၚသုိ႔ု တစ္မိုင္ႏွစ္မုိင္အထိ တင္ေနေသာ စက္ေလွမ်ားကိုလည္း တူးေျမာင္းတူးေဖာ္ၿပီးေရထဲျပန္ခ်ဖို႔ လုပ္ေနၾကတာေတြ႔ရပါသည္။ “သေဘၤာေဖၚၿပီးရင္ ပင္လယ္ျပင္ကို ျပန္ထြက္ရမွာျဖစ္လုိ႔ ကုိယ္ထည့္ႀက့့ံခိုင္မႈ ျပန္စစ္ရမယ္။ အင္ဂ်င္ေတြျပန္ျပင္ရမယ္” လုိ႔ စက္ေလွ ပိုင္ရွင္ဦးထြန္းထြန္းေထြးကေျပာျပေၾကာင္း ၂၀၀၈ခုႏွစ္ေမလ ၃၀ရက္ေန႔ထုတ္ ေမာ္ဒန္သတင္း ဂ်ာနယ္တြင္ေဖာ္ျပထားပါသည္။
Labels: စားဝတ္ေနေရး, ေရလုပ္ငန္း
Let them eat frogs
Let them eat frogs
Rangoon - The military junta began evicting destitute families from cyclone relief centres on Friday and rejected foreign food aid - because people can survive perfectly well by hunting "large, edible frogs." The New Light of Myanmar "newspaper", a government mouthpiece, also warned that foreign relief workers would snoop inside homes, and condemned donors for linking aid money to full access to the hardest-hit regions in the Irrawaddy Delta.
The tirade came as the junta tightened its political grip on the country, extending democracy leader Aung San Suu Kyi's house arrest and announcing that its new constitution has been enacted.
The regime says the charter will pave the way for democratic elections in two years, but dissidents say it will enshrine military rule in a country ruled by generals since 1962.
"It is better that they move to their homes where they are more stable," a government official said at one camp where people had been told to clear out at short notice. "Here, they are relying on donations and it is not stable."
Locals and aid workers said 39 camps in the immediate vicinity of Kyauktan, 30km south of Rangoon, were being cleared as part of a general eviction plan.
"We knew we had to go at some point but we had hoped for more support," 21-year-old trishaw driver Kyaw Moe Thu said as he trudged out of the camp with his five brothers and sisters.
They had been given 20 bamboo poles and some tarpaulins to help rebuild their lives in the Irrawaddy delta, where 134,000 people were left dead or missing by Cyclone Nargis on May 2.
"Right now, we are disappointed," Kyaw Moe Thu said. "We were promised 30 poles by the government. They told us we will get rice each month, but right now we have nothing."
Why would they want rice? wondered the military regime.
After several days of praising the work of the United Nations and charities, the regime's official newspaper renewed its attacks on foreign aid and insisted Burmese could survive without outside help.
"The government and the people are like parents and children," the paper said. "We, all the people, were pleased with the efforts of the government."
"Myanmar (Burmese) people are capable enough of rising from such natural disasters even if they are not provided with international assistance," the newspaper said.
"Myanmar people can easily get fish for dishes by just fishing in the fields and ditches," the paper said. "In the early monsoon, large edible frogs are abundant."
"The people (of the Irrawaddy delta) can survive with self-reliant efforts even if they are not given chocolate bars from (the) international community," it added.
No aid agencies are known to have provided chocolate bars to victims of Cyclone Nargis.
The United Nations estimates that about one million people in the delta are still without emergency aid. (Agencies) |
Labels: Ideas - Opinions
Friday, May 30, 2008
ระนองจะไม่ขาดแคลนน้ำ
ปี 2553 เมื่ออ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้น แล้วเสร็จ
ระนองจะไม่ขาดแคลนน้ำ
ระนองเป็นจังหวัดเล็ก ๆ มีพื้นที่เพียง 3,298 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครอง ออกเป็น 5 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอกระบุรี อำเภอกะเปอร์ อำเภอละอุ่น และอำเภอสุขสำราญ
ระนองเป็นจังหวัดที่มีฝนตกชุกมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากอยู่ติดกับทะเลอันดามัน ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ แต่ด้วยเพราะความลาดชันของลักษณะ ภูมิประเทศ ทำให้น้ำฝนที่ตกลงมาเป็นปริมาณมากไหลลงสู่ทะเลอย่างรวดเร็ว ประกอบกับมีเพียงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก เช่น การขุดลอกคลอง ขุดสระ ทำเหมืองฝายกั้นน้ำ ที่มีจำนวนมากกว่า 100 โครงการ แต่ก็ไม่สามารถเก็บกักน้ำได้ในปริมาณที่มากเพียงพอกับความต้องการ ฤดูแล้งจึงขาดแคลนน้ำโดยเฉพาะในเขตเทศบาลเมืองระนอง บางแห่งต้องใช้น้ำบ่อ น้ำบาดาล หรือ ซื้อน้ำจากรถที่นำมาเร่ขาย ส่วนฤดูฝนจะเกิดน้ำหลากท่วมอย่างฉับพลัน
การพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำให้เต็มศักยภาพตามความเหมาะสมจึงเป็นวิธีการหนึ่ง ที่จะแก้ไขปัญหาในเรื่องน้ำที่เกิดขึ้นที่จังหวัดระนอง ซึ่งกรมชลประทานได้วางแผนสร้างแหล่ง เก็บกักน้ำขนาดกลาง 8 โครงการ ได้แก่ อ่างเก็บน้ำคลองเคียนงาม อ่างเก็บน้ำคลองจั่น อ่างเก็บน้ำคลองละอุ่น อ่างเก็บน้ำคลองวัน อ่างเก็บน้ำคลองกระบุรีตอนล่าง อ่างเก็บน้ำคลองบางริ้น อ่างเก็บน้ำคลองกะเปอร์ และอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้น
สำหรับการพัฒนาแหล่งน้ำในคลองหาดส้มแป้น ปัจจุบันมีเพียงการก่อสร้างฝายขนาดเล็ก จำนวน 7 แห่ง ซึ่งลักษณะของฝายเก็บน้ำได้เพียงเล็กน้อยประชาชนในพื้นที่จึงขาดแคลนน้ำแม้ แต่การอุปโภคบริโภค ขณะเดียวกันคลองหาดส้มแป้นยังเป็นลุ่มน้ำขนาดเล็ก มีลำน้ำแคบ แต่มีความสูงชันทำให้น้ำไหลแรง ช่วงฤดูฝนปริมาณน้ำจะมากเกินความจำเป็นจนเกิดภาวะน้ำท่วม ส่วนฤดูแล้งปริมาณน้ำจะลดลงอย่างมาก น้ำที่มีอยู่ไหลออกสู่ทะเลฝั่งอันดามันในเวลารวดเร็ว จึงทำให้สภาพน้ำแห้งขอด
นอกจากนี้ยังมีการก่อสร้างเหมืองแร่ดินขาวในพื้นที่ต้นน้ำทำให้น้ำมีการปน เปื้อนของตะกอนและมีความขุ่นสูง ซึ่งการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้นจะสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
จุดเริ่มต้นของการสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้นเกิดจากที่การประปาส่วน ภูมิภาคได้ขอให้กรมชลประทานช่วยดำเนินการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อเป็นแหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปาการบรรเทาอุทกภัยและการเกษตรในเขต เทศบาลเมืองระนองและพื้นที่รอบนอกเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2527 และต่อมาในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จฯจังหวัดระนอง เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2530 นายกเทศมนตรีเมืองระนองและราษฎร ได้เฝ้ารับเสด็จและถวายฎีกาขอพระราชทานก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้น
มาจนถึงวันนี้ กรมชลประทานน้อมรับฎีกาทุ่มงบกว่า 324 ล้านบาท ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้นเป็นโครงการที่สามารถเก็บน้ำได้มากถึง 10 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำให้ชาวระนอง ลักษณะเป็นเขื่อนดินตั้งอยู่ที่บ้านทอนเรียน ต.หาดส้มแป้น อ.เมือง จ.ระนอง กำหนดแล้วเสร็จในปี 53 มั่นใจจะช่วยแก้ปัญหาขาดแคลนน้ำประปารวมทั้งบรรเทาน้ำท่วมในฤดูฝนและมีน้ำ สนับสนุนด้านอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวได้เพิ่มมากขึ้น
นายธีรวัฒน์ ตั้งพานิชย์ รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า “เมื่อการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้นแล้วเสร็จจะทำให้จังหวัดระนองมี แหล่งน้ำต้นทุนในการส่งน้ำดิบให้กับการประปาเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคการ อุตสาห กรรม และรักษาระบบนิเวศได้ตลอดทั้งปี ซึ่งจะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำในอนาคตได้ในระดับหนึ่ง รวมทั้งยังจะเป็นแหล่งกักเก็บน้ำที่สามารถช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมในช่วงฤดู น้ำหลากได้”
โครงการอ่างเก็บน้ำคลองหาดส้มแป้นเมื่อแล้วเสร็จนอกจากจะเอื้ออำนวยต่อเป้า หมายหลักของการก่อสร้างโดยตรงดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว โครงการฯ ยังสามารถใช้ประโยชน์ในการ เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดระนองได้อีกด้วย ขณะเดียวกันยังใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่งประมงน้ำจืดและแหล่งขยายพันธุ์ปลา ให้กับพื้นที่ ซึ่งจะมีมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล ตลอดทั้งใช้ประโยชน์ในการผลักดันน้ำเค็มพื้นที่บริเวณปากคลองหาดส้มแป้นที่ สองฝั่งคลองจะเป็นพื้นที่การเพาะปลูกพืชทางการเกษตรที่สำคัญของจังหวัดระนอง อีกด้วย.
Thursday, May 29, 2008
ปลาหมึกเลี้ยงในกระชังได้
ปลาหมึก เป็นสัตว์น้ำประเภทกินเนื้อและจะกินอาหารมากกว่าน้ำหนักของตัวเองในแต่ละวัน อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ ที่ทรงประสิทธิภาพช่วยให้ปลาหมึกเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ปลาหมึกที่มีความสำคัญ แบ่งตามลักษณะทางชีววิทยาการเพาะเลี้ยงออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มปลาหมึกกลาวน้ำ หรือ กลุ่มปลาหมึกหอม มีหนวด 10 เส้น ปลาหมึกในกลุ่มนี้ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง จะว่ายน้ำหาอาหารอยู่ตลอดเวลา ว่องไว ปราดเปรียว ซึ่งอาหารก็คือกลุ่มปลากลางน้ำ ปลาหมึกกลุ่มนี้ชอบอยู่ในน้ำใสสะอาดอีกกลุ่มเป็น ปลาหมึกหน้าดิน หรือปลาหมึกกระดอง มีหนวด 10 เส้น กลุ่มนี้เป็นปลาหมึกที่อาศัยอยู่ตามหน้าดิน ปกติจะนอนหรือฝังตัวอยู่ตามหน้าดิน เช่นเดียวกับสัตว์น้ำประเภท กุ้ง ปู และปลาหน้าดินชนิดต่าง ๆ ซึ่งเป็นอาหารของปลาหมึกกลุ่มนี้ และ ปลาหมึกสาย เป็นปลาหมึกที่มีหนวด 8 เส้น เป็นปลาหมึกหน้าดินเช่นเดียวกับกลุ่มปลาหมึกกระดอง บางชนิดฝังตัวในหน้าดิน แต่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่อย่างโดดเดี่ยวตามโพรงหิน อาหารที่กินจะเป็นสัตว์กลุ่มกุ้งและปู
พ่อแม่พันธุ์ของปลาหมึกจะสามารถ ผสมพันธุ์วางไข่ได้ในบ่อเลี้ยง โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยการผสมเทียมหรือการกระตุ้นด้วยปัจจัยทางกายภาพไม่ว่าพ่อแม่พันธุ์นั้นจะมาจากธรรมชาติหรือจากการเพาะเลี้ยง ขณะเดียวกันไข่ปลาหมึกก็สามารถรวบรวมได้จากธรรมชาติ ซึ่งปริมาณไข่จะแตกต่างกันไปตามชนิดของปลาหมึกและขนาดของพ่อแม่พันธุ์ ในตัวอ่อนของปลาหมึกจะได้รับการป้องกันอย่างดีจากเปลือกที่ซ้อนกันอยู่หลายชั้นเป็นการช่วยป้องกันตัวอ่อนจากการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลันของสิ่งแวดล้อมจึงทำให้โอกาสการรอดสูง
แต่จะไม่มีระยะตัวอ่อนที่แท้จริง เนื่องมาจากระยะการฟักตัวที่ยาวนาน การพัฒนาของตัวอ่อนเกิดขึ้นภายในไข่ ลูกปลาหมึกแรกฟักจะมีลักษณะใกล้เคียงกับพ่อแม่ และยังมีขนาดใหญ่ กว่าสัตว์น้ำวัยอ่อนชนิดอื่น ข้อจำกัดเรื่องอาหารที่เหมาะสมต่อพฤติกรรมการกินจะมีน้อย เนื่องจากปลาหมึกสามารถจับอาหารได้หลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุดประมาณ 30% ของขนาดตัวปลาหมึกเองไปจนถึงขนาดใหญ่กว่า 200% ของความยาวลำตัว จึงเป็นผลให้อัตราการเจริญเติบโตสูงมาก ซึ่งมีผลมาจากพฤติกรรมการกินอาหารของปลาหมึกนั้นเอง และปลาหมึกเป็นสัตว์น้ำที่ใช้ประโยชน์ได้ทั้งตัว
เนื่องจากปลาหมึกเป็นสัตว์น้ำที่ต้องการพลังงานสูง และมีอัตราการเผาผลาญอาหารที่สูงเช่นเดียวกันจำเป็นต้องอาศัยอยู่ในน้ำที่มีคุณภาพดีตามไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาหมึกกลุ่มกลาวน้ำที่ว่องไวกว่าปลาหมึกกลุ่มที่อาศัยตามหน้าดินคุณภาพน้ำที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปลาหมึก คือ อุณหภูมิในช่วง 28-32 ํC ความเค็ม 28-32 ส่วนในพันล้าน ความเป็นกรดเป็นด่าง 7.0-8.5 ปริมาณออกซิเจนสูงกว่า 5 มก.ต่อลิตร ความขุ่นใสของน้ำจะต้องต่ำสุดเท่าที่จะเป็นได้ เนื่องจากเหงือกของปลาหมึกไม่มีระบบกำจัดตะกอนตามธรรมชาติ
การเพาะเลี้ยงในกระชังมีหลายแห่งในพื้นที่ทะเลอันดามันริมฝั่งไทยเพาะเลี้ยงประสบความสำเร็จมาแล้ว ซึ่งจากประสบการณ์ของเกษตรกร ที่นั้นจะเริ่มด้วยการพิจารณาว่า จะเลี้ยงปลาหมึกชนิดใด เพราะการจัดการจะต้องเหมาะสมกับพฤติกรรมและถิ่นที่อยู่อาศัย ปลาหมึกเป็นสัตว์น้ำที่ชอบน้ำใสไม่มีตะกอนรบกวนระบบหายใจ ปลาหมึกบางชนิด เช่น ปลาหมึกกระดองก้นไหม้ อาจจะทนทานต่อน้ำที่มีความขุ่นสูง แต่ปลาหมึกกลาวน้ำ เช่น ปลาหมึกหอม นอกจากจะต้องการน้ำใสและคุณภาพน้ำที่ดีแล้วยังต้องมีกระแสน้ำแรงหรือน้ำไหลพอสมควรเพื่อช่วยในการลอยตัว แต่ถ้ากระแสน้ำไหลแรงเกินไปปลาหมึกจะสูญเสียพลังงานในการว่ายน้ำมากเกินไปทำให้อัตราการเจริญเติบโตลดลง ปลาหมึกหน้าดิน เช่น ปลาหมึกกระดองยิ่งต้องคำนึงเกี่ยวกับกระแสน้ำมากขึ้น เพราะนิสัยชอบหมอบติดกับพื้น กระแสน้ำที่แรงเกินไปจะพัดให้ปลาหมึกต้องลอยตัวอยู่ตลอดเวลาทำให้สูญเสียพลังงานที่จะใช้ในการเจริญเติบโตไปได้
ปลาหมึกจึงเหมาะกับการเลี้ยงในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยเฉพาะปลาหมึกกลาวน้ำ เช่น ปลาหมึกหอม เหมาะกับการเลี้ยงในกระชัง ปลาหมึกหน้าดิน เช่น ปลาหมึกกระดอง เหมาะกับการเลี้ยงในคอก ส่วนการเลี้ยงในบ่อดิน มีปลาหมึกก้นไหม้เพียงชนิดเดียวที่เหมาะสม
สำหรับกระชังที่ใช้เลี้ยงปลาหมึกหอม ควรเป็นกระชังแบบแขวนบนทุ่นลอย ทุ่นลอยอาจจะเป็นแพไม้ไผ่ ถังน้ำมันเปล่า หรือทุ่นโฟมก็ได้ แต่ก้นกระชังต้องลอยอยู่เหนือหน้าดิน ทำเลที่เหมาะสมควรมีความลึกพอสมควร อย่างน้อย 2 เมตร เช่น บริเวณเกาะหรืออ่าวเปิดที่มีน้ำใส และหน้าดินเป็นพื้นทราย ตัวกระชังเป็นแบบกระชังเย็บเป็นมุ้ง ไม่มีโครงแข็ง เพราะจะทำให้ปลาหมึกเกิดเป็นบาดแผลเมื่อพุ่งไปชน มีพื้นที่กว้างอย่างน้อย 5 ตารางเมตร ลึก 1.5 เมตร สำหรับปลาหมึกกลาวน้ำนั้นจะมีนิสัยก้าวร้าวอยู่บ้างคือหากหิวมาก ๆ ก็มักจะกินกันเอง หรืออยู่ในที่ที่แคบเกินไป กระชังเลี้ยงควรเป็นขนาดตาอวนประมาณ 1 เซนติเมตร ซึ่งอาจใช้ตาอวนขนาดใหญ่กว่านี้ เมื่อปลาหมึกโตขึ้น
และควรมีกระชังสำรองเพื่อเปลี่ยนกระชังเก่าขึ้นมาทำความสะอาดอย่างน้อยเดือนละ ครั้ง และระยะเวลาในการเลี้ยงจะอยู่ที่ 3 เดือน ก็จะสามารถจับขึ้นมาจำหน่ายได้ ส่วนการเพาะเลี้ยงแบบคอกสำหรับการเลี้ยงปลาหมึกกระดองนั้น จะมีลักษณะเช่นเดียวกับคอกสัตว์น้ำอื่น ๆ จะต่างกันก็ตรงที่เนื้ออวนที่ใช้ คือควรเป็นเนื้ออวนแบบเอ็นเส้นด้ายจะเหมาะสมที่สุด.
Labels: สัตว์น้ำและอาหารทะเล
Tuesday, May 27, 2008
Cold-fusion demonstration "a success"
Cold-fusion demonstration "a success"
On 23 March 1989 Martin Fleischmann of the University of Southampton, UK, and Stanley Pons of the University of Utah, US, announced that they had observed controlled nuclear fusion in a glass jar at room temperature, and — for around a month — the world was under the impression that the world's energy woes had been remedied. But, even as other groups claimed to repeat the pair's results, sceptical reports began trickle in. An editorial in Nature predicted cold fusion to be unfounded. And a US Department of Energy report judged that the experiments did "not provide convincing evidence that useful sources of energy will result from cold fusion."
This hasn't prevented a handful of scientists persevering with cold-fusion research. They stand on the sidelines, diligently getting on with their experiments and, every so often, they wave their arms frantically when they think have made some progress.
Nobody notices, though. Why? These days the mainstream science media wouldn't touch cold-fusion experiments with a barge pole. They have learnt their lesson from 1989, and now treat "cold fusion" as a byword for bad science. Most scientists agree, and some even go so far as to brand cold fusion a "pathological science" — science that is plagued by falsehood but practiced nonetheless.
There is a reasonable chance that the naysayers are (to some extent) right and that cold fusion experiments in their current form will not amount to anything. But it's too easy to be drawn in by the crowd and overlook a genuine breakthrough, which is why I'd like to let you know that one of the handful of diligent cold-fusion practitioners has started waving his arms again. His name is Yoshiaki Arata, a retired (now emeritus) physics professor at Osaka University, Japan. Yesterday, Arata performed a demonstration at Osaka of one his cold-fusion experiments.
Although I couldn't attend the demonstration (it was in Japanese, anyway), I know that it was based on reports published here and here. Essentially Arata, together with his co-researcher Yue-Chang Zhang, uses pressure to force deuterium (D) gas into an evacuated cell containing a sample of palladium dispersed in zirconium oxide (ZrO2–Pd). He claims the deuterium is absorbed by the sample in large amounts — producing what he calls dense or "pynco" deuterium — so that the deuterium nuclei become close enough together to fuse.
So, did this method work yesterday? Here's an email I received from Akito Takahashi, a colleague of Arata's, this morning:
"Arata's demonstration...was successfully done. There came about 60 people from universities and companies in Japan and few foreign people. Six major newspapers and two TV [stations] (Asahi, Nikkei, Mainichi, NHK, et al.) were there...Demonstrated live data looked just similar to the data they reported in [the] papers...This showed the method highly reproducible. Arata's lecture and Q&A were also attractive and active."
I also received a detailed account from Jed Rothwell, who is editor of the US site LENR (Low Energy Nuclear Reactions) and who has long thought that cold-fusion research shows promise. He said that, after Arata had started the injection of gas, the temperature rose to about 70 °C, which according to Arata was due to both chemical and nuclear reactions. When the gas was shut off, the temperature in the centre of the cell remained significantly warmer than the cell wall for 50 hours. This, according to Arata, was due solely to nuclear fusion.
Rothwell also pointed out that Arata performed three other control experiments: hydrogen with the ZrO2–Pd sample (no lasting heat); deuterium with no ZrO2–Pd sample (no heating at all); and hydrogen with no ZrO2–Pd sample (again, no heating). Nevertheless, Rothwell added that Arata neglected to mention certain details, such as the method of calibration. "His lecture was very difficult to follow, even for native speakers, so I may have overlooked something," he wrote.
It will be interesting to see what other scientists think of Arata's demonstration. Last week I got in touch with Augustin McEvoy, a retired condensed-matter physicist who has studied Arata's previous cold-fusion experiments in detail. He said that he has found "no conclusive evidence of excess heat" before, though he would like to know how this demonstration turned out.
I will update you if and when I get any more information about the demonstration (apparently there might be some videos circulating soon). For now, though, you can form your own opinions about the reliability of cold fusion.
Posted by Jon Cartwright on May 23, 2008 3:05 PM | http://hysicsworld.com
Read More......Labels: Technology
Friday, May 23, 2008
จับกระแส : โครงการปลูกต้นสบู่ดำ พลังงานทางเลือกหรือความอดอยากหิวโหย
ทุกวันนี้ หากคุณเดินทางออกจากสถานีขนส่งกรุงมัณฑะเลย์มุ่งหน้าไปตามถนนสายหลักสู่รัฐฉาน หรือต่อไปยังรัฐอื่นๆ คุณจะได้รับการต้อนรับจากพืชใบสีเขียวแก่ตามทางหลวงที่มีชื่อเรียกตามภาษาพม่าว่า "แจ๊ตซู่" (Kyet - Suu) หรือคนไทยเรียกว่า "ต้นสบู่ดำ" พืชชนิดนี้สามารถนำมากลั่นเป็นน้ำมันไบโอดีเซลได้ รัฐบาลพม่าจึงเริ่มรณรงค์ให้ประชาชนทุกครัวเรือนปลูกแทนข้าวและพืชต่างๆ ซึ่งเคยปลูกเพื่อใช้ยังชีพ โดยตั้งเป้าเอาไว้ว่าในปี 2552 ที่จะถึงนี้ ทั่วประเทศพม่าจะต้องมีต้นสบู่ดำมากถึง 20 ล้านไร่ หรือเทียบเท่ากับประเทศเบลเยียมทั้งประเทศเลยทีเดียว
Labels: ธุรกิจ
Wednesday, May 21, 2008
Forget the bulb: world’s first illuminating glass
Eco-friendly lightbulbs are an energy efficient step in the right direction, but it could be that the bulb's days are numbered. First we had light-emitting wallpaper, and now Saazs' light-emitting glass plates. Using planilum technology, these plates are the world's first active light-emitting glass. Incorporated into shelves and tables, the technology provides beautiful, understated lighting for homes and offices.
Labels: Technology
Tuesday, May 20, 2008
DEATH-TRUCK TRAGEDY : Burmese survivors sent home
by WIMOL NOOKAEW Bangkok Post
RANONG : Fifty-six illegal Burmese workers who survived the cold-storage death truck tragedy last month were sent back to Burma yesterday.
Their destination was Kawthaung islet opposite Ranong province.
The workers were among 66 Burmese survivors, 10 of whom are being held as witnesses in court proceedings in Ranong against the people who smuggled them into Thailand.
A total of 54 of 121 illegal Burmese immigrants travelling in the back of a cold-storage truck suffocated while being smuggled to Phuket from Ranong on April 9. Six Thais have been charged in the tragedy that shocked the nation.
Ranong governor Kanchanapha Keeman, provincial police chief Pol Maj-Gen Apirak Hongthong and senior officials yesterday took the 56 Burmese survivors, who had been detained at the Ranong immigration office for a month, to a pier in tambon Paknam, Muang district, where they boarded boats to Kawthaung islet.
Each was given two sets of clothes and other necessary items by the World Vision Foundation.
Upon their arrival in Burma, they were immediately taken to a home for the elderly on Kawthaung islet which had previously served as a hospital.
One Burmese survivor said he was glad to be allowed to return home. Before the tragedy, he had travelled from Moulmein in southern Burma before being smuggled into Thailand with the other job seekers. He vowed not to sneak into other countries again looking for work. He said the April 9 death-truck tragedy had been a nightmare.
A volunteer and interpreter at the World Vision Foundation said the remaining 10 Burmese survivors held as witnesses were four children and six adults. Most, particularly the youngsters, one boy and three girls, cried after being told they would have to remain in Thailand as witnesses. They said memories of the April 9 tragedy still haunted them.
A source said Kawthaung officials had come to an agreement with local Thai authorities that they would not take legal action against the 56 Burmese survivors after they were returned home.
Previously, human rights advocates had called on Thai authorities to treat the case as human trafficking, not just illegal migration and allow the survivors to take the smugglers to court.
Labels: Local
โฆษณาน้ำยาบ้วนปาก Listerine
Labels: ขำขัน
Monday, May 19, 2008
Stock investment, with safety
By Siriporn Chanjindamanee The Nation Published on May 20, 2008
While there has been plenty of advice to investors lately that they should put their money into stocks to beat inflation, it perhaps should be pointed out that making a profit from the equity market is easier said than done.
The Thai equity market has been volatile because of both local and external factors, and these have affected the market in both negative and positive ways.
Investors need to reduce these risks by allocating their investment portfolio to suit the current situation. However, while investment in blue-chip stocks with strong fundamentals may be a good buffer, it does not always guarantee capital gains. Despite dividend payments, there are some cases in which sluggish stock sentiment means the returns do not justify the investment.
Many stockbrokers advise their clients to invest in accordance with certain portfolio models, in order to ride volatility successfully. For those who want to invest on their own without advice from brokers, one expert recommends a model called "Smart" investment. In his use of the word "smart", S is for stock selection, M for market timing, A for Asset Allocation, R for Risk Management and T for Tax Planning.
The idea came from Thanachart Securities executive vice president Pichai Lertsupongkit, who said market timing and asset allocation were the most important aspects but that the timing for selling or buying stock was the most difficult thing. This is because the most suitable time for buying or selling equities can never be predicted.
Asset allocation helps balance an overall investment portfolio, because investment in different sectors and different stocks brings about different results.
Pichai recommends that an overall portfolio consist of big-capitalisation stocks, small-capitalisation stocks and "trading stocks" - stocks in which you have invested for the short term - in a proportion of 30 per cent, 25 per cent and 20 per cent, respectively. The remaining 25 per cent should be invested in a retirement mutual fund, long-term equity fund or insurance policy, in order to benefit from tax privileges.
For example, if you have Bt500,000 to invest, you should allocate 25 per cent of it, or Bt125,000, for retirement mutual funds or long-term equity funds, to reduce your risk and to receive the tax benefits.
Then you should allocate Bt150,000, or 30 per cent, for investment in big-cap stocks. Many big-cap stocks are growth stocks, including oil, banking and commodity companies. Choose the best stocks from each group, with a dividend yield of at least 5 per cent.
Another 25 per cent, or Bt125,000, should be invested in small-cap stocks. Most of these are usually shrugged off by investors, who believe smaller stocks are riskier. But in fact, these small stocks have positive growth and offer high dividend payments.
When setting out to choose small-cap stocks, investors should first ensure that the companies are expected to show a profit over the next two or three years. Pichai gives the green light to small stocks that have annual profit growth of about 20 per cent, with undervalued stocks and expectations of dividend payment.
The final 20 per cent of the portfolio, or Bt100,000, should be allocated to trading stocks that give an investor flexibility by allowing profit-taking from capital gains in the short term. Without such speculative trading, overall returns may not reach the target, because it is recommended that 80 per cent of the portfolio be invested for the medium and long term.
Pichai says interesting stocks in the Market for Alternative Investment include Thai Plastic, Unique Mining Services (UMS), Unimit Engineering (UEC) and Inoue Rubber (Thailand) (IRC).
Thai Plastic produces packaging, including plastic bottles and caps, as well as other plastic products and has annual profit growth of about 20 per cent, with a dividend yield of 8.3 per cent per annum.
UMS imports coal. It makes a yearly dividend payment of about 7 per cent and has profit growth of more than 10 per cent a year.
UEC provides engineering design and production services and installs equipment for manufacturers. It offers a dividend payment of 6 per cent a year and has average profit growth of 20 per cent.
IRC pays a 4-per-cent dividend per year, while last year's net profit grew 69 per cent from 2006.
Although you may find several stocks interesting, it is recommended that you not buy more than 10 at a time, because you will not have time to follow the movements of more than that. It is also recommended that you follow the performance of your companies each quarter, in order to ensure that they are meeting their targets. If anything goes wrong with any stock, you will then have time to divest it.
If you follow this "Smart" investment model, you can expect to be safe from risks and enjoy satisfactory returns.
Labels: Economy-Business-Finance
Sunday, May 18, 2008
'มาม่า' ซองละ 50 บาท + พม่าอ่วม! ขาดแคลนน้ำ-อาหารรุนแรง / นับล้านคนจ่อทะลักไทย
ค้า ชายแดนไทย-พม่าเจอหางเลขพายุนาร์กิส ยอดการค้าด่านแม่สาย-ขี้เหล็ก ระนอง-เกาะสองวูบทันตา ขณะที่ด่านแม่สอด-เมียวดีคึกคักสุดขีดยอดสั่งซื้อสินค้าสำเร็จรูป อาหาร และน้ำดื่มรวมถึงวัสดุก่อสร้างพุ่ง100% มาม่าขายที่ย่างกุ้งซองละ50 บาท จับตาแรงงานพม่าทะลักไทยนับล้านคน "สมัคร"แสดงน้ำใจ ส่งอาหาร ตะปู-สังกะสี-ผ้าใบช่วย ด้านนักลงทุนนักธุรกิจบอกทำใจเถอะ กระทบแค่สั้นๆ
จาก - หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับที่ 2322 15 พ.ค. - 17 พ.ค. 2551
ตามที่พายุไซโคลน "นาร์กิส" เข้าพัดถล่มประเทศพม่า เมื่อวันที่ 4 พ.ค.ที่ผ่านมา มีรายงานจากสำนักข่าวต่างประเทศว่า ยอดผู้เสียชีวิตจากเหตุพายุไซโคลนนาร์กิสพัดถล่ม พุ่งสูงขึ้นถึง15,000 คนแล้ว ขณะที่ตัวเลขผู้สูญหายอยู่ที่ 15,000 คนโดยผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อยู่ที่เมืองโบกาเลย์และลาบุตตาบริเวณสามเหลี่ยม แม่น้ำอิระวดี แหล่งเพาะปลูกสำคัญของประเทศ
อย่างไรก็ดีรายงานความเสียหายยังสับสนอยู่มาก เป็นที่น่าสังเกตว่าโดยปกติแล้ว รัฐบาลเผด็จการทหารพม่ามักปกปิดข้อมูลความเสียหายต่าง ๆ หรือรายงานต่ำกว่าความเป็นจริงมาก และน้อยครั้งมากที่จะร้องเรียกความช่วยเหลือจากต่างประเทศ ขณะที่นานาประเทศรวมถึงไทยกำลังให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มที่และเร่งด่วน
**สมัครส่งอาหาร-ตะปู-สังกะสี-ผ้าใบช่วย
พล.ต.ท.วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) ว่า จากการที่ประเทศสหภาพพม่าประสบเหตุพายุไซโคลนพัดถล่มจนได้รับความเสียหาย จำนวนมากและได้ขอความช่วยเหลือกับรัฐบาลไทย ล่าสุดรัฐบาลไทยให้ความช่วยเหลือด้วยการส่งเครื่องบินC 130 นำยาและอาหารสำเร็จรูปเที่ยวแรกจำนวน 9 ตัน และส่วนที่เหลือที่เป็นยาและของใช้จำเป็นทางกระทรวงสาธารณสุขได้อนุมัติงบ ประมาณจำนวน 13 ล้านบาทเพื่อจัดซื้อเวชภัณฑ์
ขณะที่ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีจัดซื้อของประเภท อุปกรณ์ก่อสร้าง อาทิ ตะปู สังกะสี ผ้าใบ โดยขอความร่วมมือจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย จัดซื้อในราคาที่เป็นธรรมไปช่วยเหลือด้วย
**ค้าชายแดนโดนหางเลข
สำหรับบรรยากาศตามแนวชาวแดนไทย - พม่า ทางด้านอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย หลังจากที่เกิดภัยธรรมชาติในพม่า นายบุญธรรม ทิพย์ประสงค์ รองประธานฝ่ายการค้าชายแดน(แม่สาย) หอการค้าจังหวัดเชียงราย เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ว่า สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศพม่าส่งผลกับการค้าชายแดนระหว่างไทยกับพม่า อย่างแน่นอน อย่างแรกที่มีผลชัดเจน ก็คือกำลังซื้อที่หายไปไม่น้อยกว่า 20% ส่งผลให้ผู้ประกอบการชะลอการสั่งสินค้า เพื่อรอดูสถานการณ์และดูดีมานด์และซัพพลายในตลาด ซึ่งคงต้องรออีกสัก 3-5 วันจะชัดเจน
"เท่าที่ได้คุยกับนักธุรกิจพม่าในจังหวัดท่าขี้เหล็ก ก็รู้สึกช็อกกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่มั่นใจว่า วิกฤติเกี่ยวกับการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภค ตลอดจนความไม่สงบเรียบร้อยต่างๆ คงจะไม่เกิดขึ้น เศรษฐกิจท่าขี้เหล็กปัจจัยหลักอยู่ที่การท่องเที่ยว หากการท่องเที่ยวยังเดินหน้าไปได้ ก็ไม่มีปัญหา" นายบุญธรรม กล่าวและว่า
สินค้าไทยที่จะมียอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญจากนี้เป็นต้นไป อยากให้จับตาดูเรื่องของวัสดุก่อสร้างทุกชนิดและสินค้าประเภทบะหมี่กึ่ง สำเร็จรูปที่น่าจะมีการปรับราคาภายในประเทศพม่า ส่วนเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มและอาหารอื่นๆ คาดว่าสินค้าราคาถูกจากจีนจะแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดไปได้มาก
**ต.ม.สั่งจับตาแรงงานพม่าทะลัก
พ.ต.อ.เจษฎา ใยสุ่น ผู้กำกับการ ด่านตรวจคนเข้าเมือง(ต.ม.)แม่สาย กล่าวถึงสถานการณ์การทะลักเข้ามาของแรงงานต่างด้าวชาวพม่าหลังจากนี้ไปว่า พื้นที่อำเภอแม่สายและจังหวัดเชียงราย ปัญหาคงจะไม่รุนแรง เนื่องจากเส้นทางการลำเลียงแรงงานต่างด้าวที่มีอยู่และขบวนการค้าแรงงาน ต่างด้าวเคยใช้กัน ด่านต.ม.แม่สายมีข้อมูลอย่างครบถ้วนชัดเจน ประกอบกับมาตรการการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวในจังหวัดเชียงรายและจังหวัด พะเยาซึ่งด่าน ต.ม.แม่สายดูแลอยู่ ได้มีการบูรณาการในการจัดตั้งจุดสกัดเป็นจำนวนมาก โอกาสที่จะลักลอบมีน้อยมาก
"ทางด้านแม่สอดและระนองน่าจะมีความรุนแรงมากกว่า แต่น่าจะเป็นช่วงหลังจากนี้ไปประมาณ 1 สัปดาห์ อย่างไรก็ตามด่าน ต.ม.แม่สาย มีมาตรการด้านการป้องกันด้วยจัดชุดสืบสวนออกตรวจตามสถานที่ที่น่าสงสัยอยู่ ตลอดเวลา และในช่วงฤดูแล้งก็เป็นช่วงที่ด่าน ต.ม.แม่สายเพิ่มความเข้มข้นในการตรวจค้นให้มากขึ้นอยู่แล้ว"
**แห่ซื้อสินค้าแม่สอดพุ่ง100%
ส่วนการค้าชายแดนไทย-พม่า ด้านอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก นายสุชาติ ตรีรัตน์วัฒนา ประธานที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดตากและผู้ประกอบการรายใหญ่ในพื้นที่ชายแดน ไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก กล่าวว่า ขณะนี้วัสดุก่อสร้างในพื้นที่อำเภอแม่สอดขาดตลาด โดยเฉพาะตะปูและสังกะสี ที่ชาวพม่าสั่งซื้อจำนวนมาก เพื่อไปซ่อมแซมบ้านเรือน ร้านค้าที่พังเสียหาย ทำให้ราคาสินค้าพุ่งสูงขึ้น โดยพ่อค้าในพื้นที่แม่สอดได้มีการสั่งซื้อในจำนวนเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้พอเพียงกับความต้องการของชาวพม่า
นอกจากนี้ยังมีสินค้าอุปโภคบริโภค และน้ำดื่มรวมถึงยาและเวชภัณฑ์ มีจำนวนยอดสั่งซื้อมากขึ้นจนถึงขั้นขาดตลาด ในช่วง 2-3 วันนี้ มีชาวพม่ามาซื้อสินค้าฝั่งไทยเพิ่มขึ้นเท่าตัว ทางด่านการค้าถาวร แม่สอด-เมียวดี จากเดิมที่เคยมีการซื้อ-ขายสินค้า วันละประมาณ 20-30 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 100 % เป็นจำนวนกว่า 50-60 ล้านบาทต่อวัน และคาดว่าในช่วงสัปดาห์นี้สินค้าดังที่กล่าวมาจะมีชาวพม่าสั่งซื้อเพิ่มมาก ขึ้น
นายบรรพต ก่อเกียรติเจริญ ประธานหอการค้าจังหวัดตาก กล่าวว่าช่วงนี้ชาวพม่าจะมีการสั่งซื้อสินค้า อาหาร และน้ำดื่มมากขึ้น รวมไปถึงวัสดุก่อสร้าง อย่างไรก็ตามจะเกิดผลกระทบระยะยาวต่อการค้าชายแดน โดยการสั่งซื้อสินค้าจะลดน้อยลง เพราะชาวพม่าไม่มีเงิน ประกอบกับเศรษฐกิจตกต่ำและจากการที่พื้นที่ทำการเกษตรเสียหายหลายแสนไร่ทำ ให้ชาวพม่าขาดกำลังซื้อ
"ช่วงนี้อยากจะให้เจ้าหน้าที่พม่าที่ประจำการชายแดนได้อำนวยความสะดวกในการ นำสินค้าจากชายแดนแม่สอด เข้าไปยังฝั่งพม่าเพื่อเร่งช่วยเหลือ โดยสินค้าที่พม่ากำลังต้องการมากที่สุดในขณะนี้ คือ เครื่องอุปโภคบริโภค ยาเวชภัณฑ์ น้ำดื่ม และวัสดุก่อสร้างที่ต้องเร่งนำเข้าเพื่อไปซ่อมแซม อาคาร ร้านค้า และบ้านเรือนที่พังเสียหาย"
ผู้สื่อข่าว"ฐานเศรษฐกิจ"ประจำอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก รายงานว่า ในช่วง 1-2 วันนี้(ตั้งแต่วันที่ 4 พ.ค.2551)มีชาวพม่าจากจังหวัดเมียวดี ตรงข้าม อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เดินทางมาซื้อสินค้าวันละกว่า 2,500-3,000 คน โดยผ่านทางด่านตรวจคนเข้าเมืองตาก(แม่สอด) เพิ่มจากปกติวันละ 1,500 คน ทั้งนี้เพื่อมาซื้อสินค้าไปเก็บไว้ เพื่อป้องกันสินค้าราคาแพงขึ้น
**ค้าชายแดนระนองช็อกยอดวูบ
ด้านบรรยากาศตามแนวชายแดนไทย-พม่าด้านจังหวัดระนอง นายดำรงค์ ขจรมาศบุษป์ นักธุรกิจค้าชายแดนไทย-พม่า อดีตประธานหอการค้าจังหวัดระนอง กล่าวให้ความเห็นว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกว่าจะตั้งหลักได้ต้องใช้เวลาไม่ ต่ำกว่า 2-3 เดือน จากนั้นทุกอย่างก็จะเริ่มดีขึ้น แต่มีอีกประการที่หลายคนเป็นห่วง คือ การส่งออกข้าวของพม่า จากพายุที่เข้าพัดถล่มย่านลุ่มแม่น้ำอิระวดี ซึ่งเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของพม่า ได้รับความเสียหายอย่างหนัก อาจจะส่งผลต่อการส่งออกข้าว และสินค้าทางการเกษตร
"ในส่วนของนักธุรกิจค้าชายแดน หอการค้าชายแดนทั้ง 6 จังหวัด ขณะนี้ได้ประสานเตรียมระดมสรรพกำลัง เพื่อระดมเครื่องอุปโภคบริโภค เชิญชวนให้ผู้คนบริจาค โดยมีหอการค้าแต่ละจังหวัดเป็นศูนย์กลาง เพื่อรวบรวมนำเข้าไปช่วยเหลือชาวพม่า เพราะตอนนี้ได้รับความเสียหายและเดือดร้อนจริงๆ"
เรือไทยปลอดภัย เรือพม่าจมพันลำ
นายอภิสิทธิ์ เตชะนิธิสวัสดิ์ นายกสมาคมการประมงนอกน่านน้ำไทย เปิดเผยว่า พายุไซโคลนที่พัดกระหน่ำพม่า จากการตรวจสอบข้อมูลพบว่า มีเรือประมงขนาดเล็กที่มีนักลงทุนทั้งไทยและเทศเข้าไปลงทุนโดยชักธงพม่านับ พันลำถูกพายุซัดกระหน่ำจม และบางส่วนถูกหอบขึ้นไปอยู่บนฝั่ง ขณะที่เรือประมงของบริษัท สยามโจนาธาน จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของคนไทยเพียงรายเดียวที่ได้รับสัมปทานทำประมงในพม่าจำนวน 240 ลำ เท่าที่ได้รับรายงาน มีเรือได้รับความเสียหายประมาณ 2 ลำ ส่วนที่เหลือสามารถหนีกลับมาหลบลมที่ชายฝั่งจังหวัดระนองได้ ส่วนยอดลูกเรือประมงที่เสียชีวิตในครั้งนี้ยังไม่ทราบแน่ชัดซึ่งอยู่ระหว่าง การตรวจสอบข้อมูล
"เหตุการณ์ครั้งนี้มีเรือขนาดเล็กที่มีเจ้าของเป็นต่างชาติซึ่งเป็นของใคร ไม่มีข้อมูล แต่มีไต้ก๋งเรือส่วนใหญ่เป็นคนไทย โดยเรือในส่วนนี้ได้รับความเสียหายเกือบหมด จมเป็นพันลำ แต่เรือของบริษัทสยามโจนาธานฯส่วนใหญ่ปลอดภัย เพราะพอรู้ข่าวพายุจะเข้าก็ได้วิ่งมาหลบลมที่ระนอง แต่เรือเล็กของพม่าชะล่าใจไปหน่อยเพราะเขาคาดว่าว่าพายุจะไปขึ้นที่บังกลา เทศ แต่ปรากฏพายุเลี้ยวกลับมาขึ้นฝั่งที่พม่าจึงได้รับความเสียหายค่อนข้างมาก เพราะมีความรุนแรงพอๆ กับสึนามิ ในส่วนของลูกเรือไทยหากใครสูญหายไปญาติๆ สามารถแจ้งข้อมูลได้ที่กระทรวงการต่างประเทศเพื่อรวบรวมข้อมูลและช่วยเหลือ ต่อไป"
**โรงงานซีพีที่ย่างกุ้งโดนด้วย
นอกจากนี้ "ฐานเศรษฐกิจ" ได้ทำการตรวจสอบความเสียหายและผลกระทบกับกลุ่มนักลงทุนชาวไทยที่เข้าไปลงทุน ในพม่า โดยนายวิโรจน์ คัมภีระ รองกรรมการ ผู้จัดการ อาวุโส บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด ในเครือเจริญโภคภัณฑ์อาหาร หรือซีพีเอฟ ได้รับการบอกกล่าวว่า ได้รับทราบข่าวจากเจ้าหน้าที่โรงงานอาหารสัตว์ของเครือที่ประจำอยู่ที่เมือง มัณฑะเลย์ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของพม่าได้โทรศัพท์มาแจ้งให้ทราบว่า โรงงานอาหารสัตว์ของเครือซึ่งตั้งอยู่นอกเมืองย่างกุ้งได้รับความเสียหายจาก พายุไซโคลนนาร์กิสพัดถล่มในครั้งนี้ด้วย
"เวลานี้ยังไม่ทราบความเสียหายที่ชัดเจน หากระบบการสื่อสารในย่างกุ้ง และสนามบินเปิดใช้ได้ ทางผู้บริหารจะได้เดินทางไปพร้อมตัวแทนบริษัทประกันภัยเพื่อสำรวจความเสีย หายทันที"
เช่นเดียวกับนายวิชัย พูนพิริยะทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส กลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ์(ซีพี) ที่ระบุว่า การถล่มของพายุไซโคลนนาร์กิสครั้งนี้ นอกจากจะสร้างความเสียหายอย่างหนักต่อชีวิต ทรัพย์สินของประชาชนชาวพม่าแล้ว ยังสร้างความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตรด้วย เนื่องจากในเขตเมืองย่างกุ้ง และอีกหลายเมืองที่ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิระวดีถือเป็นแหล่ง ปลูกข้าวและข้าวโพดที่สำคัญ
ทั้งนี้ในส่วนของเครือซีพีได้เข้าไปส่งเสริมชาวพม่าเพาะปลูกข้าวโพดในลักษณะ การทำเกษตรแบบมีพันธะสัญญา หรือคอนแทร็กต์ฟาร์มมิ่งมานานแล้ว (ปีนี้เป็นปีที่ 12 รวมพื้นที่ในประมาณ 7 แสนไร่) ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่แถบรัฐฉาน และส่วนหนึ่งอยู่ในเขตเมืองย่างกุ้ง อย่างไรก็ดีการถล่มของไซโคลนนาร์กิสครั้งนี้ ผลผลิตข้าวโพดไม่ได้รับผลกระทบ เพราะได้มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตไปแล้วตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคมต่อเนื่องเมษายน ที่ผ่านมา
+++ใบหยกสูญรายได้กว่า10ล้าน
นายพันธ์เลิศ ใบหยก ประธานใบหยกกรุ๊ป บริษัท แลนด์ ดีเวลล็อปเม้นท์ จำกัด ในฐานะเจ้าของโรงแรมกันดอว์จี พาเลซ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า เปิดเผยว่าตัวโรงแรมได้รับความเสียหายเล็กน้อย โดยขณะนี้ได้ส่งเจ้าหน้าที่จากเมืองไทยเข้าไปประเมินความเสียหายเบื้องต้น แล้ว คาดว่าทางโรงแรมจะเสียโอกาสทางธุรกิจไม่ต่ำกว่า 10 ล้านบาท ซึ่งยังไม่รู้ว่าจะเปิดให้บริการได้เมื่อไร และไม่รู้ว่าเมื่อทุกอย่างเข้าสู่สภาพปกติ จะมีนักท่องเที่ยวเข้าไปใช้บริการมากน้อยแค่ไหน
นางกาญจนา เอกเศรณี ผู้จัดการ บริษัท เปี่ยมบุญทัวร์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่ากรุ๊ปทัวร์จำนวน 18 คนที่ติดอยู่ในพม่าขณะนี้สามารถเดินทางกลับประเทศไทยโดยสวัสดิภาพแล้ว
ส่วนกรุ๊ปที่มีแผนจะเดินทางไปพม่าในเดือนนี้อีก 3-4 กรุ๊ป จำนวนเฉลี่ย 10-20 คนต่อกรุ๊ปนั้นได้มีการเลื่อนการเดินทางออกไปทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากระบบสาธารณูปโภคภายในเสียหายมาก และเกรงว่าจะเกิดปัญหาด้านโรคติดต่อและความสะดวกสบายอื่น ๆ และได้คืนเงินบางส่วนให้ลูกทัวร์ที่ไม่สามารถเดินทางไปตามโปรแกรมที่กำหนด ไว้
ด้านนายทัศพล แบเลเว็ลด์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายการบินไทยแอร์เอเชีย ในฐานะสายการบินที่เปิดบินระหว่างประเทศ เส้นทางกรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง เผยว่า สภาวะการบินอยู่ในภาวะปกติแล้ว อัตราบรรทุกเฉลี่ยก็อยู่ในที่ 70% เท่ากับช่วงเวลาปกติ ส่วนการบินไทยก็กลับมาเปิดเส้นทางบินเข้าพม่าวันละ 2 เที่ยวตามปกติแล้ว
**ปตท.ยันท่อก๊าซไม่เสียหาย
ส่วนทางด้านบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด(มหาชน)(บมจ.ปตท.สผ.) ได้มีการรายงานว่า แท่นขุดเจาะสำรวจแหล่งปิโตรเลียมที่ดำเนินการอยู่ไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่าง ใด ยังคงดำเนินการสำรวจขุดเจาะต่อไป แต่ความเสียหายจะเกิดขึ้นกับสำนักงานในกรุงย่างกุ้งบ้างเล็กน้อย และบ้านพักคนงานที่มีอยู่กว่า 30 คน ได้รับความเสียหายและไม่มีไฟฟ้าใช้ ขณะที่แหล่งก๊าซเยตากุน และยาดานา ที่ผลิตก๊าซป้อนให้กับประเทศไทยนั้น ก็ไม่ได้รับความเสียหาย ยังสามารถจัดส่งก๊าซให้ได้อย่างต่อเนื่อง
++ธุรกิจชี้กระทบแค่ระยะสั้น
ด้านนายพันธ์ พะเนียงเวทย์ ผู้อำนวยการสำนักงาน บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด(มหาชน) ผู้ผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปภายใต้แบรนด์มาม่า เปิดเผยว่า ตลาดมาม่าในย่างกุ้งไม่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ้น แม้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะมีความรุนแรง แต่เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ระยะสั้น ดังนั้นคาดว่าในระยะ 2-3 วันทุกอย่างน่าจะเข้าสู่ภาวะปกติ
แหล่งข่าวจากบริษัท เบทเตอร์เวย์(ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและของใช้ส่วนบุคคลภายใต้แบรนด์มิส ทิน กล่าวว่า บริษัทได้รับผลกระทบเล็กน้อยจากพายุโซโคลน ทั้งนี้เนื่องจากพม่าไม่ใช่ตลาดหลัก อีกทั้งยอดขายในประเทศดังกล่าวยังน้อยมากเมื่อเทียบกับตลาดหลักในประเทศไทย
ขณะที่นายไกรเสริม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูปภายใต้แบรนด์ปุ้มปุ้ย ปลายิ้ม กล่าวว่า บริษัทไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เนื่องจากการทำตลาดส่วนใหญ่จะอยู่แถบชายแดนและผ่านตัวแทนจำหน่าย รวมทั้งคาดว่าเหตุการณ์นี้เป็นเรื่องระยะสั้นที่ใช้เวลาไม่กี่วันก็จะเข้า สู่ภาวะปกติเหมือนที่ผ่านมา
**โอสถสภารอดหลังขายไลเซนส์
นายสุนทร เก่งวิบูล กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอสถสภา อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด กล่าวว่า บริษัทไม่ได้รับผลกระทบจากการเกิดภัยพิบัติในประเทศพม่าแต่อย่างใด เนื่องจากได้ขายไลเซนส์แบรนด์ฉลาม และชาร์คให้กับนักธุรกิจพม่าเป็นผู้ผลิตและทำตลาดเอง และขณะนี้ก็ยังไม่มีรายงานความเสียหายเกี่ยวกับบริษัทดังกล่าวว่ามีมากน้อย ขนาดไหน
นายอุดม ตันติวศิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูเคเค การ์เม้นท์ จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายเสื้อผ้าแฟชั่นแบรนด์โนบอดี้ (NOBODY) กล่าวว่า ตัวแทนจำหน่ายในประเทศพม่าได้ให้ข้อมูลถึงกรณีเกิดพายุในประเทศว่าธุรกิจไม่ ได้รับความเสียแต่อย่างใด และจากการพูดคุยกับดีลเลอร์คิดว่าผลกระทบน่าจะมีระยะสั้นๆ เพียงเดือนนี้เดือนเดียว ทั้งนี้คาดว่าภายหลังจากเหตุการณ์สงบลงแล้วคิดว่ายอดขายเสื้อผ้าน่าจะเพิ่ม มากขึ้นได้ เพราะความต้องการคงมีสูงขึ้นจากการที่ประชาชนสูญเสียทรัพย์สิน
**มาม่าขายซองละ50 บาท
นายโกติน (KO TIN) นักธุรกิจชาวพม่าจากกรุงย่างกุ้ง ซึ่งเดินทางเข้ามาติดต่อทำธุรกิจที่จังหวัดเกาะสองและจังหวัดระนอง เปิดเผยว่า ขณะนี้พม่าต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำเป็นต่อการยังชีพจำนวนมาก เนื่องจากโรงงานผลิตสินค้า คลังอาหารในประเทศพม่าที่สำคัญโดยพายุทำลายได้รับความเสียหาย โดยเฉพาะ 3 เมืองสำคัญ คือ อิระวดี ย่างกุ้ง และพะโค๊ะ ที่ถือเป็นหัวใจสำคัญของประเทศพม่า โดยสินค้าที่ต้องการมากที่สุดแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอาหาร ประเภทของแห้ง กินง่าย เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปมาม่า ยำยำ ปลากระป๋อง ขนมแห้ง กาแฟ ข้าวสาร กลุ่มยารักษาโรค
อีกกลุ่มที่สำคัญที่สุดที่คาดว่า จะมีการสั่งซื้อมหาศาลจากไทย คือ กลุ่มสินค้าวัสดุก่อสร้าง ประกอบด้วยสังกะสี ปูนซีเมนต์ เหล็ก สี และกระเบื้องต่างๆ และอีกกลุ่มที่ต้องการมาก คือเสื้อผ้าประเภทมือ 2 ส่วนสินค้าที่คาดว่า จะมีคำสั่งซื้อลดลง ประกอบด้วยสินค้ากลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทโทรทัศน์ วิทยุเทป วิดีโอ วีซีดี เพราะทุกคนจะมุ่งไปยังกลุ่มสินค้าที่จำเป็นก่อน
"วันนี้ผมมาพร้อมกับเรือบรรทุกสินค้าขนาด 80 ตันกรอส เพื่อใช้สำหรับบรรทุกสินค้าจากฝั่งไทยกลับไปยังกรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยสินค้าที่มารับเป็นเสื้อผ้ามือสอง มาม่า ยำยำ ยารักษาโรค รวมถึงสินค้าสร้างบ้านในบางรายการ โดยเฉพาะสังกะสีมุงหลังตาตอนนี้มีความต้องการมาก"
นายโกติน กล่าวต่อไปว่า นอกจากสินค้าขาดแคลน ความต้องการสูงแล้ว สินค้าแต่ละรายการยังมีราคาที่สูงมาก อาทิ มาม่ารับจากฝั่งไทยราคาซองละ 350 จ๊าต แต่เมื่อไปถึงย่างกุ้งราคาจะขายอยู่ที่ 1,500 จ๊าต หรือกว่า 50 บาทไทยต่อซอง และจากวิกฤติปัญหาที่เกิดขึ้นคาดว่า ในอีก 2 เดือนข้างหน้า จะมีแรงงานพม่าทะลักเข้าไทยนับล้านคน ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน โดยเฉพาะพม่าจากลุ่มน้ำอิระวดี และย่างกุ้ง ที่ค่อนข้างเจริญกว่าจังหวัดอื่นๆ แต่ตอนนี้จำเป็นเพราะทุกอย่างโดนทำลายหมดทั้งบ้านเรือน และเครื่องมือทำมาหากิน
ไซบาร์ข่าวลีด
**นักวิชาการแนะจับตาจุดเปลี่ยนพม่า
นายสุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้เชี่ยวชาญประเทศพม่า สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า ในเบื้องต้นต้องรอดูข้อมูลก่อนว่าความเสียหายเกิดขึ้นมากน้อยแค่ไหน เพราะประเทศนี้ค่อนข้างจะมีปัญหาในเรื่องข้อมูลเนื่องจากเป็นประเทศปิด แต่ตนเชื่อว่าเหตุการณ์นี้น่าจะหนักหนาสาหัสมากเนื่องจาก ปกติรัฐบาลพม่าไม่เคยแสดงออกหรือออกมาขอความช่วยเหลือต่อนานาชาติเพราะไม่ ต้องการให้นานาชาติทราบถึงความล้าหลังของตนเอง แต่เมื่อเกิดภัยพิบัติครั้งนี้ รัฐบาลพม่ากลับออกมาขอความช่วยเหลืออย่างเห็นได้ชัด
"นอกจากนี้จากภาพถ่ายดาวเทียมทำให้เรารู้ว่าจุดที่ได้รับภัยพิบัติก็คือ บริเวณพม่าตอนล่าง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกที่อุดมสมบูรณ์มากจนทำให้พม่าในอดีตสามารถส่งออกข้าว ได้อันดับหนึ่งของโลก ตรงนี้จึงทำให้ประชาชนพม่าจะต้องเดือดร้อนอีกมาก นอกจากทรัพย์สินที่ถูกทำลาย พืชผลการเกษตรที่เสียหาย และจะตามมาด้วยโรคระบาด"
เหตุการณ์ครั้งนี้อาจจะเกิดจุดเปลี่ยนในพม่าได้เพราะที่ผ่านมาเมื่อประชาชน มีการเคลื่อนไหว รัฐบาลก็ส่งทหารเข้าปราบปรามอย่างหนัก แต่เมื่อประชาชนเดือดร้อนทหารจะช่วยเหลือประชาชนอย่างไร ตรงนี้ถ้าปล่อยไว้ไม่ได้รับการเยียวยาแก้ไขอาจจะส่งผลกระทบทางการเมืองใน ระยะยาว
สอดคล้องกับนายลาร์รี่ เจแกน ผู้เชี่ยวชาญเรื่องพม่า และนักข่าวอิสระที่เคยมีงานเขียนเกี่ยวกับพม่าหลายเล่ม และมีโอกาสได้พูดคุยกับชาวพม่าหลายคนที่อยู่ในเหตุการณ์บอกว่า เมืองย่างกุ้งของพม่าอยู่ในสภาพเหมือนกับเจอสงครามมาอย่างหนัก นอกจากนี้เขาบอกด้วยว่า งานนี้จะเกิดแรงกดดันต่อรัฐบาลให้เร่งพยายามแก้ไขปัญหากันอย่างดีที่สุด เพราะไม่ต้องการให้เรื่องนี้ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านการเมือง
Labels: พม่า, ระีนอง - เกาะสอง
ไทยชงพม่าลดเวลาอยู่ในพท.ชายแดน จาก7วันเหลือเช้ามาเย็นกลับ
ไทย ชงพม่าผ่านที่ประชุมคณะกรรมการชายแดน TBC แก้ไขข้อตกลงว่าด้วยการข้ามแดนระหว่างประเทศ ย่นระยะเวลาการพำนักในพื้นที่ชายแดน จาก 7 วัน ลดเหลือ 1 วัน สำหรับผู้ถือบัตรผ่านแดนชั่วคราว พร้อมเตรียมผลักดันให้จังหวัดเกาะสองเป็นพื้นที่การส่งกลับผู้หลบหนีเข้า เมืองจากฝั่งไทย หวังสกัดขบวนการค้าแรงงานข้ามชาติ
พ.อ.พรเทพ วัชราพันธ์ ประธานคณะกรรมการส่วนท้องถิ่นชายแดนไทย-พม่า ด้านจังหวัดระนอง-เกาะสอง หรือ TBC เปิดเผยถึงผลการประชุมคณะกรรมการชายแดนส่วนท้องถิ่นไทย-พม่า ด้านจังหวัดระนอง-เกาะสอง ครั้งที่ 28/51 ที่จังหวัดระนอง (Meeting Of The Thailand - Myanmar Township Border Committee 28/2008) ว่า เพื่อแก้ไขปัญหาการลักลอบขนแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายที่ทวีความรุนแรงมากยิ่ง ขึ้น ทางฝ่ายไทยจึงได้เสนอผ่านที่ประชุม TBC ไปยังรัฐบาลพม่าถึงแนวทางการแก้ปัญหา 3 ข้อสำคัญ ประการแรก คือ การลดระยะเวลาของการพำนักในพื้นที่ชายแดนของประชาชนชาวพม่า
ตามที่ประเทศไทยและประเทศพม่าได้ทำการตกลงกัน ว่าด้วยการข้ามแดนระหว่างประเทศทั้งสอง ณ กรุงย่างกุ้ง เมื่อ 16 พฤษภาคม 2540 (ค.ศ. 1997) ซึ่งกำหนดไว้ในข้อ 7 มี 3 ข้อย่อยดังนี้ 1. ผู้ถือบัตรผ่านแดน จะได้รับอนุญาตให้พำนักในพื้นที่ชายแดนของภาคีคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งครั้งละ ไม่เกิน 2 สัปดาห์ 2. ผู้ถือบัตรผ่านแดนชั่วคราว จะได้รับอนุญาตให้พำนักในพื้นที่ชายแดนของภาคีคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งครั้งละ ไม่เกิน 1 สัปดาห์ และ3. คนชาติของภาคีคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือคนชาติของประเทศที่สามใดๆที่ถือ เอกสารเดินทางที่มีผลใช้ได้ อาจเดินทางเข้าโดยผ่านจุดผ่านแดนที่ได้รับอนุญาตและเดินทางในดินแดนของภาคี อีกฝ่ายหนึ่งเป็นเวลาไม่เกินสี่สัปดาห์ หรือเป็นระยะเวลานานกว่านั้น ตามกฎหมายระเบียบและข้อบังคับของประเทศผู้รับอนุญาต และจะได้รับอนุญาตให้เดินทางออก ณ จุดผ่านแดนได้
พ.อ.พรเทพกล่าวว่า จากข้อตกลงดังกล่าว ในทางปฏิบัติได้เกิดปัญหาโดยเฉพาะข้อที่ 1 และ 2 คือปัญหาการลักลอบขนแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย โดยกลุ่มขบวนการดังกล่าวได้อาศัยช่องว่างนี้ลักลอบขนแรงงานต่างด้าวผิด กฎหมาย และส่วนใหญ่เมื่อมีการเข้ามาในประเทศไทยแล้ว มักจะหลบหนีเข้าไปทำงานในพื้นที่อื่นหรือจังหวัดอื่น ด้วยระยะเวลาที่ค่อนข้างมากทำให้กลุ่มขบวนการที่ลักลอบขนแรงงานต่างด้าว มีเวลาที่จะวางแผนและดำเนินการรวบรวมกำลังพลให้ได้ตามจำนวนยอดที่ต้องการ ซึ่งจะเห็นได้จากผลการรายงานการจับกุมของเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทย และแม้กระทั่งเกิดเหตุการณ์โศกนาฏกรรม 54 ศพเมื่อ 9 เมษายน 2551 ที่ผ่านมา
ดังนั้นไทยจะขอให้มีการลดระยะเวลาของการพำนักในพื้นที่ชายแดนลง โดยเฉพาะผู้ถือบัตรผ่านแดนชั่วคราวจากเดิมอนุญาตให้ 1 สัปดาห์ ลดเหลือเพียง 1 วัน (เช้ามาเย็นกลับ) และจำกัดเฉพาะในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเท่านั้น หากมีความจำเป็นอยู่เกิน 1 วันให้ขออนุญาต ต.ม.เพื่อพิจารณาเป็นรายๆ ซึ่งทางคณะกรรมการชายแดนด้านจังหวัดระนองจะขอหารือกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยว ข้องก่อนทั้งฝ่ายไทยและพม่าก่อนที่จะมีการปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ประการที่สองที่มีการหารือกัน คือ การผลักดันให้จังหวัดเกาะสองเป็นพื้นที่ให้มีการส่งกลับจากฝ่ายไทยอย่างเป็น ทางการ เพราะปัจจุบันการผลักดันส่งกลับอย่างเป็นทางการในพื้นที่ของระนอง-เกาะสอง ยังไม่ได้มีการกำหนดรูปแบบของการผลักดันอย่างเป็นทางการไว้ ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมาการผลักดันส่งกลับ เป็นการส่งกลับในลักษณะที่ทางฝ่ายไทยส่งกลับแต่เพียงฝ่ายเดียว กล่าวคือ ทางฝ่ายพม่ามิได้รับตัวอย่างเป็นทางการ ซึ่งกระบวนการในการส่งกลับปัจจุบัน ได้มีการใช้เรือส่งเข้าไปบริเวณเขตแดน ซึ่งเป็นน่านน้ำระหว่างประเทศเท่านั้น ซึ่งทำให้เกิดปัญหาติดตามมา เนื่องจากแรงงานที่ถูกส่งกลับส่วนใหญ่จะหวนกลับเข้ามายังฝั่งไทยอีก ทางฝ่ายไทยขอเสนอว่าควรมีพื้นที่ในการรับตัวผู้ที่ถูกผลักดันส่งกลับซึ่งได้ ดำเนินคดีถึงที่สุด และให้เริ่มการปฏิบัติตั้งแต่ผู้ที่ถูกดำเนินคดีเหตุการณ์เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2551
อีกมาตรการซึ่งเป็นควบคุมการเข้ามาของแรงงานต่างด้าว โดยทางฝ่ายไทยได้มีการกำหนดมาตรการให้เรือหางยาวโดยสารทุกลำจอดเทียบที่ท่า เรือสะพานปลาเพียงจุดเดียว ทั้งนี้เนื่องด้วยด่านตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดระนองได้มีการจัดระเบียบการ เข้า-ออก เพื่อให้เกิดความสะดวก ความปลอดภัยให้กับประชาชนทั้งสองฝ่ายมากยิ่งขึ้น จึงขอแจ้งมายังฝ่ายพม่าเพื่อรับทราบก่อนและช่วยชี้แจงประชาชนของท่านให้ ปฏิบัติตาม ก่อนมีผลบังคับใช้ในโอกาสต่อไป กล่าวคือ เรือหางยาวโดยสารทุกลำที่มาจากฝั่งพม่า เมื่อผ่านจุดตรวจเกาะสะระนีย์แล้ว จะผ่านมายังจุดตรวจย่อยที่อยู่กลางน้ำของด่านศุลกากร ด่านตรวจคนเข้าเมือง แล้วจะต้องมาจอดเทียบบริเวณท่าเรือสะพานปลาเท่านั้น โดยจะเริ่มบังคับใช้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมนี้เป็นต้นไป
Labels: พม่า, ระีนอง - เกาะสอง
พม่าอัตคัดปันส่วนข้าวคนละ5กก.
เมือง หม่องส่อเค้าวุ่น หลังโดนนาร์กิสถล่ม รัฐบาลทหารออกมาตรการห้ามส่งออกข้าว ฝ่าฝืนติดคุก 5 ปี บังคับพ่อค้าจำหน่ายข้าวให้ลูกค้าได้ไม่เกินรายละ 5 กก. ด้านเกาะสองส่อแวววิกฤติ เผยเสบียงรองรับได้แค่ 15 วัน เหตุย่างกุ้งไม่ส่งข้าวช่วย ภาคธุรกิจไทยรับปากไม่ฉวยโอกาสขายสินค้า
นายบุญธรรม ทิพย์ประสงค์ รองประธานฝ่ายการค้าชายแดน(แม่สาย) หอการค้าจังหวัดเชียงราย เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ว่าประกาศกระทรวงพาณิชย์ของสหภาพพม่าชัดเจน โดยมีจำนวน สินค้าที่ห้ามนำเข้าและส่งออก 45 รายการ โดยสินค้าที่ห้ามส่งออกอันดับที่ 1 คือข้าวสาร ปลายข้าวและแป้งข้าวเจ้า แต่ที่ผ่านมามีการผ่อนปรนให้ชาวบ้านสามารถนำข้าวออกมาขายในตลาดสดที่แม่สาย ได้บ้างในจำนวนครั้งละเล็กละน้อย แต่ระยะหลังทางการพม่าได้เข้มงวดกับประกาศนี้มากขึ้น โดยห้ามนำข้าวจากพม่าออกมาขายที่ฝั่งไทยอย่างเด็ดขาด พร้อมทั้งกำหนดโทษของการฝ่าฝืนไว้อย่างรุนแรงคือจำคุกนานถึง 5 ปี
ด้าน พ.ต.อ.เจษฎา ใยสุ่น ผู้กำกับการ ด่าน ต.ม.แม่สาย กล่าวกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ถึงสถานการณ์การทะลักเข้ามาของแรงงานต่างด้าวชาวพม่าหลังจากนี้ไป ว่า พื้นที่อำเภอแม่สายและจังหวัดเชียงราย ปัญหาคงจะไม่รุนแรง เนื่องจากเส้นทางการลำเลียงแรงงานต่างด้าวที่มีอยู่และขบวนการค้าแรงงาน ต่างด้าวเคยใช้กัน ทางด่านต.ม.แม่สายมีข้อมูลอย่างครบถ้วน
ประกอบกับมาตรการการสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวในจังหวัดเชียงรายและจังหวัด พะเยาซึ่งด่าน ต.ม.แม่สายดูแลอยู่ ได้มีการบูรณาการร่วมกับตำรวจภูธรและทหารชุดเฉพาะกิจ กรมทหารม้าที่สามและฝ่ายปกครองจัดตั้งจุดสกัดเป็นจำนวนมาก โอกาสที่จะลักลอบจึงมีน้อยมาก
"ทางด้านแม่สอดและระนองน่าจะมีความรุนแรงมากกว่า แต่น่าจะเป็นช่วงหลังจากนี้ไป 1 สัปดาห์ อย่างไรก็ตาม ด่านต.ม.แม่สาย มีมาตรการด้านการป้องกันด้วยจัดชุดสืบสวนออกตรวจตามสถานที่ที่น่าสงสัยอยู่ ตลอดเวลา และในช่วงฤดูแล้งก็เป็นช่วงที่ ด่านต.ม.แม่สายเพิ่มความเข้มข้นในการตรวจค้นให้มากขึ้นอยู่แล้ว"
*พม่าแห่ซื้อข้าวไทย
นายวิศัลป์ กุลวินิจจิตร พ่อค้าข้าวรายใหญ่ในเขตพื้นที่ จ.ระนอง กล่าวว่าตนได้รับการติดต่อจากพ่อค้าชาวพม่าในจังหวัดเกาะสองเป็นจำนวนมาก เพื่อขอซื้อข้าวสาร ล่าสุดเริ่มมีคำสั่งซื้อเข้ามาเรื่อยๆ ตั้งแต่ 50 กระสอบ ถึง 300 กระสอบ แต่ในช่วงสถานการณ์เช่นนี้ทางกลุ่มพ่อค้าข้าวในเขต จ.ระนอง จะใช้วิธีให้พ่อค้าชาวพม่าวางเงินสดทันทีที่รับสินค้า เนื่องจากเป็นสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูงทั้งสภาวะทางเศรษฐกิจ และความผันแปรของราคาข้าวสารภายในประเทศ
"ขณะนี้กลุ่มพ่อค้าไทยและพ่อค้าชาวพม่าตามแนวชายแดน แอบลักลอบนำเข้าข้าวเกรดต่ำจากพม่าย่านพื้นที่ตอนกลาง นำเข้าผ่านจังหวัดตาก ก่อนส่งต่อมายังจังหวัดระนอง ,สมุทรสาคร เพื่อขายต่อให้กับชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในจังหวัดระนองในราคาถูกกว่าข้าวสาร ไทย เช่น ข้าวสารไทยขนาดกระสอบ 50 กก.ราคาซื้อขายปัจจุบันที่กระสอบละ 1,300 บาท แต่ข้าวสารจากพม่าจะขายเพียงกระสอบละ 800 บาท โดยจะมีนายหน้าคนไทย ซึ่งมีลูกค้าชาวพม่าอยู่ในมือจะมารับช่วงต่อจากกลุ่มที่ลักลอบมาจาก จ.ตาก จากนั้นจะนำไปส่งให้ตามสถานที่ก่อสร้าง,แพปลา,เรือประมง,โรงงาน,สวนผลไม้, สวนปาล์ม,สวนยางพารา ฯลฯ และผลจากราคาที่แตกต่างทำให้ขณะนี้กำลังเริ่มเป็นที่สนใจของคนไทยในอีกระดับ ที่ต้องการนำมาหุงปนกับข้าวหอมมะลิ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย"
*เสบียงข้าวเกาะสองพอแค่ 15วัน
ด้านนายโก เลียง (KO LING) อดีตประธานหอการค้าจังหวัดเกาะสองประเทศพม่า กล่าวว่า ผลกระทบจากพายุนาร์กิส เริ่มส่งผลกระทบลามไปยังทุกพื้นที่ของประเทศพม่าแล้ว แม้แต่ในจังหวัดเกาะสองที่อยู่ตอนใต้สุด ล่าสุดทางรัฐบาลทหารพม่าได้ประกาศห้ามจำหน่ายข้าวสารถุงใหญ่ขนาด 50 กก. ให้กับประชาชนทั่วไป แต่อนุญาตให้แบ่งขายเป็นถุงขนาดเล็กขนาด 5 กก.ได้ ทั้งนี้เป็นเพราะทราบว่าปริมาณสต๊อกข้าวสำรองในเขตพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศใกล้หมด
สต๊อก เช่นที่จ.เกาะสองจากการสอบถามล่าสุด ทราบว่ามีสต๊อกข้าวเหลือไม่เกิน 5 วัน
เนื่องจากทางย่างกุ้งงดส่งข้าวชั่วคราว ทำให้ต้องใช้มาตรการดังกล่าวในลักษณะแบ่งขายเพื่อยืดระยะเวลา ไม่เช่นนั้นผู้คนที่มีเงินจะกว้านซื้อไปกักตุน อาจจะส่งผลให้เกิดวิกฤติปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นอีก โดยการใช้มาตรการดังกล่าวจะทำให้สามารถยืดระยะเวลาออกไปได้อีกอย่างน้อย 10-15 วัน กว่าที่ปริมาณข้าวใน
สต๊อกจะหมด ซึ่งเหลือเวลาเพียงพอที่จะคิดหาทางแก้
แหล่งข่าวพ่อค้าชายแดนจังหวัดตาก กล่าวว่า จังหวัดผาอัน มีโกดังและคลังสินค้าข้าวขนาดใหญ่ เป็นตลาดกลางที่นำข้าวไปส่งขายยังจังหวัดเมียวดี-กอกาเรก-ย่างกุ้ง และเมืองอื่นๆ โดยการส่งข้าวไปแต่ละเมืองนั้นจะถูกกำหนดด้วยโควตาและจำนวนประชากรแต่ละ เมือง เพื่อป้องกันและการควบคุมการนำข้าวออกไปจำหน่ายต่างประเทศ
"ปัจจุบันพม่ามีมาตรการสั่งห้ามเด็ดขาดในการนำข้าวออกนอกประเทศ โดยมีกฎหมายควบคุมห้ามส่งออกผู้ฝ่าฝืนจำคุก 10 ปี แต่ในช่วงราคาข้าวสารในเมืองไทยสูง ทำให้รัฐบาลพม่าได้เพิ่มความเข้มงวดในมาตรการดังกล่าวรวมทั้งเอาความผิดและ ลงโทษอย่างจริงจัง"
แหล่งข่าวคนเดิมกล่าวว่า แม้ว่าทางรัฐบาลจะออกมาตรการอย่างเคร่ง
ครัดแต่ยังมีพ่อค้าพม่าพยายามที่จะลักลอบนำข้าวสารจากเมืองผาอัน จังหวัด
เมียวดี มาขายส่งให้ฝั่งไทย โดยใช้วิธีนำข้าวใส่ในถุงพืชผลชนิดอื่นๆเช่น ถั่ว-ข้าวโพด ฯลฯ เมื่อสามารถลักลอบส่งออกได้ก็จะมาแยกและนำไปผสมกับข้าวไทยและพ่อค้าไทยก็จะ นำไปจำหน่ายในตลาดแม่สอด สำหรับการลักลอบนำข้าวสารออกมาจำหน่ายที่ชายแดนนั้นจะใช้วิธีทยอยขนครั้งละ ไม่เกิน 200 กระสอบ โดยไม่หวั่นกับบทลงโทษเพราะมีผลกำไรที่คุ้มและสามารถจ่ายสินบนให้ทหารพม่า บางหน่วยและบางจุดที่สามารถเคลียร์กันได้
ด้านจังหวัดเมียวดี รัฐกอทูเลย์(กะเหรี่ยง) ประเทศพม่า ตรงข้าม อ.แม่สอด จ.ตาก พบว่าทหารรัฐบาลพม่าหรือ SPDC ร่วมกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการค้าภายในพม่า ได้จับกุมพ่อค้าและเกษตรกรชาวพม่า 3 คน ที่จังหวัดผาอัน ห่างจากจังหวัดเมียวดี ไปทางตะวันตกประมาณ 60 ไมล์ โดยพ่อค้าพม่าถูกจับกุมขณะกำลังลักลอบนำข้าวสารจำนวน 250-300 กระสอบ เพื่อนำมาส่งขายในฝั่งชายแดนไทย ที่ อ.แม่สอด ในราคากระสอบละ 600-800 บาท ต่อน้ำหนัก 55 กก. ข้าวสารดังกล่าวได้ถูกนำซุกซ่อนรวมกับกระสอบถั่วและข้าวโพดเพื่อตบตาเจ้า หน้าที่ การจับกุมครั้งนี้มีขึ้นภายหลังผู้นำรัฐบาลพม่า SPDC ได้มีประกาศขั้นเด็ดขาดในการกวดขันจับกุมและตรวจเข้มการลักลอบนำข้าวสารออก นอกประเทศ โดยกำหนดโทษจำคุกไว้สูงถึง 10 ปี
++ภาคธุรกิจไม่ฉวยโอกาสขายสินค้า
นายประพจน์ นันทวัฒน์ศิริ กรรมการผู้จัดการฝ่ายขาย บริษัท สหพัฒน์พิบูล จำกัด(มหาชน) ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค กล่าวว่า ขณะนี้มีภาคเอกชนได้มาขอซื้อบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปภายใต้แบรนด์มาม่าในราคาถูก หรือซื้อในราคาต้นทุนจากบริษัท เพื่อนำไปบริจาคให้กับประเทศพม่า แต่ในส่วนของสินค้าอุปโภคบริโภคนั้นยังไม่มีหน่วยงานใดติดต่อมา อย่างไรก็ตามปริมาณการซื้อมาม่านั้นที่นำไปบริจาคนั้น ไม่จำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิตแต่อย่างใด เพราะมีปริมาณรองรับพอเพียง อีกทั้งการซื้อบริจาคนั้นถือเป็นจำนวนที่เล็กน้อยมาก
นายประหยัด อนุชิราชีวะ กรรมการบริหารกลุ่มธุรกิจน้ำดื่ม บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำดื่มเนสท์เล่เพียวไลฟ์ น้ำแร่มิเนเร่ เปิดเผยว่า หากจะมีบริษัทเอกชนรายใดต้องการซื้อสินค้าน้ำดื่มจากบริษัทไปบริจาคหรือช่วย เหลือถ้าติดต่อเข้ามา ก็จะประสานงานไปยังฝ่ายบริหารของบริษัท ส่วนเหตุการณ์ดังกล่าวจะส่งผลต่อภาพรวมธุรกิจน้ำดื่มในด้านการเติบโตเพิ่ม ขึ้นหรือไม่ มองว่าไม่เป็นปัจจัยเพิ่มยอดขาย เพราะไม่ใช่ตลาดหลัก แม้ว่าในปีนี้บริษัทจะตั้งเป้าหมายการเติบโตถึง 15% ขณะที่ช่วงก่อนหน้านี้การเติบโตเพียง 8-9% ก็เป็นผลจากการขยายการตลาดไปยังกลุ่มเป้าหมายใหม่ และการทำตลาดภายในประเทศอย่างจริงจังมากกว่า
ด้านนายสันต์ ภิรมย์ภักดี ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด กล่าวว่า ปัจจุบันกำลังการผลิตน้ำดื่มสิงห์มีค่อนข้างเต็มกำลังการผลิตอยู่แล้ว แต่ช่วง 1-2 เดือนนี้ สินค้าอาจจะขาดตลาดบ้างในบางช่วง เพราะปริมาณขวดมีไม่เพียงพอโดยเฉพาะขวดแก้ว และล่าสุดบริษัทยังได้บริจาคน้ำจำนวน 20,000 แพ็กมูลค่า 1.2 ล้านบาท ให้กับผู้ประสบภัยชาวพม่าด้วย ซึ่งจะมีการบริจาคเพิ่มเติมหรือไม่นั้นคงต้องดูนโยบายของบริษัทต่อไป ส่วนการติดต่อสั่งซื้อสินค้าจำนวนมากจากบริษัทเอกชนเพื่อนำไปบริจาคให้กับ ชาวพม่าในขณะนี้ยังไม่ได้รับการติดต่อเข้ามาแต่อย่างใด
Labels: พม่า, ระีนอง - เกาะสอง
Friday, May 16, 2008
Thais invited to help build deep-sea port at Tavoy Burma
Bangkokpost 6/05/2008
Burma has invited Thai investors to help develop a deep-sea port in Tavoy to open trade and investment links with western Thailand.
The invitation was made by Burmese Prime Minister Gen Thein Sein during his talks with Prime Minister Samak Sundaravej, said Transport Minister Santi Prompat.
During his recent official visit to Thailand, the Burmese prime minister said Burma would set aside about 100,000 rai of land near the planned Tavoy deep-sea port to be developed as an industrial zone to accommodate energy-related industries such as petrochemicals and refineries.
Mr Santi said construction of the deep-sea port in Tavoy would cost about 40-50 billion baht, while at least another 100 billion baht would be needed for developing the industrial zone.
PTT Plc, Thailand's oil giant, has shown an interest in setting up an oil refinery in Burma, where natural gas reserves were abundant, said Mr Santi.
If the refinery was built there, PTT could supply refined oil products to Thailand through pipelines.
India and other countries were also interested in investing in the Tavoy deep-sea port project.
Mr Santi said the area earmarked for the deep-sea port was close to many provinces in Thailand including Kanchanaburi, Phetchaburi and Suphan Buri.
The government was ready to support both Thai and foreign investors in setting up industries in those provinces, Mr Santi said.
He admitted that investments in Thailand were slow due to red-tape and other obstacles, including protests by activists, which also drove away foreign investors.
Commenting on progress on the planned Pak Bara deep sea-port project in Satun province, Mr Santi said Dubai has unconditionally offered 10 million baht to the ministry's Office of the Transport and Traffic Policy and Planning to conduct a feasibility study of the project on the Andaman Sea.
Dubai has expressed interest in the project, said Mr Santi, adding that investors from Dubai and other countries would be invited to join the bidding.
Meanwhile, a group of activists said they would check whether the Phu Nam Ron forest in Kanchanaburi province would be affected if a road linking Thailand with the Tavoy deep-sea port project was built through the forest.
Kanchanaburi conservation group president Pinan Chotiroseranee said in principle her group had no objection to the Tavoy deep-sea port project as it was built in Burma.
However, the activists would check whether the planned expansion of the Yetakun-Tavoy road near the border in Kanchanaburi would cut through the forest.
She denied that protests by activists had affected industrial growth, saying the activists would not oppose development projects if they were necessary and beneficial to the country.
__________________
Tourism Thailand
Labels: Economy-Business-Finance, Local
Rain threatens Myanmar survivors
Survivors of Cyclone Nargis in Myanmar are facing a new threat from heavy rains that could cut off aid completely, forecasters and aid agencies have said.
The warning comes as the International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies estimated the toll from the cyclone to be between 68,833 and 127,990, far more than the government's revised toll of 38,491 dead and 27,838 missing.
The United Nations also increased the number of people severely affected by the cyclone on Wednesday, saying up to 2.5 million people urgently need water, food and shelter.
Earlier fears that a fresh cyclone could hit the disaster area have abated.
But with the weather system expected to dump up to 12cm of rain on the region over the next six days the Red Cross has said that already struggling aid deliveries could halt altogether.
The heavy rains are also raising the risk of flooding on areas of dry land where cyclone survivors have taken refuge.
On Wednesday the UN continued to push Myanmar's military government to expedite the entry of aid into the country, with Ban Ki-moon, the UN secretary general despatching his top humanitarian official to Yangon in the next few days.
John Holmes, the UN's under-secretary general for humanitarian affairs, will hope to persuade Myanmar's ruling military to open up to a full-scale relief effort.
The decision to send Holmes to Myanmar was announced at the end of a special meeting convened at the UN headquarters in New York to find ways of getting aid into Myanmar more quickly.
Speaking after the meeting Ban said diplomats were "encouraged" by the increasing flow of aid to Myanmar but urged its rulers to be "fully co-operative" in providing access.
Holmes urged Myanmar's rulers to make a "radical change" and allow in foreign aid workers to avoid a second wave of cyclone deaths, saying access was "the biggest problem we have at the moment".
And Louis Michel, the EU's humanitarian aid commissioner, said there was now a risk of famine, adding: "If there is a lack of access, more people will die."
However, Samak Sundaravej, Thailand's prime minister, said after a brief visit to Myanmar on Wednesday that the government had again ruled out allowing in foreign experts to help the relief effort.
"They insisted they can take care of their people and their country. They can manage by themselves," he said.
But the head of the Association of South East Asian Nations (Asean), of which Myanmar and Thailand are members, said the military government had agreed to issue visas to one of its rapid assessment teams and Asean would take more of a lead in aid efforts.
'Don't write us off'
There is a consensus emerging now that Asean has to take the lead and Asean has risen to the occasion," Surin Pitsuwan, secretary-general of the 10-member group, told an audience at the Council on Foreign Relations in Washington on Wednesday.
The regional body has come under fire for failing to respond swiftly to the crisis.
Surin said he understood growing frustration at its slow response but added: "Don't just write us off yet."
He said many outsiders were "very anxious, very angry and very frustrated, and you have the right to be. But Asean needs encouragement. Asean needs less of the criticism … less of the ridicule."
"We are trying to work around a very, very strict resistance and mentality and mind-set that have been there for a long, long time," he said.
The group is due to meet on Monday in Singapore to discuss help for Myanmar. Ban Ki-moon, the UN secretary general, has said he is appointing an official to liaise with Asean on aid efforts.
Tonnes of international aid is flowing in to Myanmar but aid groups warn a lack of infrastructure and heavy equipment means not nearly enough is reaching the southern Irrawaddy delta.
Much of the aid that has been cleared to land is reportedly still at Yangon airport.
*aljazeera.net
Labels: Earth-Weather-Travel, Health
Saturday, May 10, 2008
ชาวพม่าเกาะสองร่วมลงประชามติ รธน.ราบรื่น
ระนอง - ชาวพม่าที่จังหวัดเกาะสอง ร่วมลงประชามติรัฐธรรมนูญที่รัฐบาลทหารจัดขึ้น ไม่มีเหตุการณ์ หรืออุปสรรคใดๆ เชื่อผลที่ได้เป็นไปตามที่รัฐบาลกำหนด เหตุผู้มีสิทธิ์ส่วนใหญ่เป็นสมาชิก SPDC
วันนี้ (10 พ.ค.) เป็นวันที่รัฐบาลทหารพม่าได้จัดให้ประชาชนลงประชามติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ใน จังหวัดที่ไม่ได้ประสบภัยจากพายุไซโคลนนาร์กีส ซึ่งที่จังหวัดเกาะสอง ฝั่งตรงข้ามกับจังหวัดระนอง มีรายงานว่า มีประชาชนที่มีสิทธิลงประชามติอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ได้ทยอยกันออกไปลงประชามติตลอดทั้งวัน ตั้งแต่เริ่มเปิดหีบบัตรเวลา 06.00 น. จนถึงเวลาปิดหีบบัตรเวลา 16.00 น. ซึ่งไม่มีเหตุการณ์หรือปัญหาใดๆ เกิดขึ้น
ส่วนรูปแบบของบัตรประชามตินั้น มีช่องว่างเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสำหรับลงประชามติเพียงช่องเดียว คือ ถ้าเห็นชอบก็ให้กาเครื่องหมายขีดถูก (/) แต่ถ้าไม่เห็นชอบก็ให้กากบาตร (X) ลงในช่องว่าง จากนั้นก็หย่อนบัตรลงในหีบ
ซึ่งที่จังหวัดเกาะสองมีหน่วยลงประชามติประมาณ 180 หน่วย เฉพาะที่ตัว อ.เกาะสอง มีหน่วยประชามติ จำนวน 78 หน่วย ภายหลังปิดหีบแล้ว ได้มีการขนหีบบัตรไปนับคะแนนรวมกันที่ทำการสภาเสรีภาพ และพัฒนาประเทศพม่า หรือ SPDC จ.เกาะสอง ส่วนอำเภออื่น ๆ ก็นับคะแนนที่ทำการ SPDC ของแต่ละอำเภอ ซึ่งคาดว่าจะสามารถทราบผลได้ภายในวันพรุ่งนี้ (11 พ.ค.)
ชาวพม่าผู้มีสิทธิลงประชามติคนหนึ่ง บอกว่า การลงประชามติครั้งนี้ ผลที่ออกมาเป็นไปตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ทุกประการอยู่แล้ว เพราะประชาชนที่ออกไปใช้สิทธิส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิก SPDC ซึ่งเป็นคนของรัฐบาลเอง ซึ่งทั่วประเทศมีสมาชิก SPDC มากถึงจำนวน 25 ล้านคน จากประชากรผู้มีสิทธิ 40 ล้านคน ซึ่งเกินครึ่งหนึ่งของผู้มีสิทธิทั้งหมด ส่วนผู้ที่ไม่เห็นด้วย ส่วนใหญ่จะไม่ออกไม่ใช้สิทธิในครั้งนี้.
Labels: ระีนอง - เกาะสอง
Thursday, May 8, 2008
Nargis Cyclone Hits Myanmar Aquaculture Industry
MYANMAR - The recent cyclone in Myanmar (Burma) is expected to severely hit the country's agriculture and aquaculture industries.
The five states that have been affected own 80 per cent of the country's fish aquaculture ponds and 26 per cent of the shrimp aquaculture ponds. Fish and shrimps might have escaped from the ponds if flooded by water.
The five states also produce 65 per cent of the country's rice, and have about 50 per cent of all irrigated areas. There is risk that stored rice seeds kept by farmers - usually under poor storage facilities - might be affected by the cyclone.
Some rice crops under irrigation might be affected if not yet harvested.
Rubber plantations in five affected states cover 20 per cent of national total. However, most rubber trees are relatively young and might also be affected by the cyclone.
The five affected states are famous for livestock production - having roughly 50 per cent of national poultry production and 40 per cent of pig production. FAO also expects problems for small scale livestock holders to treat injured/sick animals or feed surviving animals.
FAO/WFP is to carry out joint assessments of food needs, damage and needs assessment in the agricultural, livestock and fisheries sectors as well as looking at livelihoods and natural resource issues in the most affected areas.
UN clusters are leading the action, and the UN - including FAO - is examining the need for a flash appeal, Relief Web said.
Together with the government, UN partners and donors, FAO is ready to undertake on the spot detailed damage assessment – and formulate measures to protect farmers from further losses and provided immediate support to recover rural livelihoods.
Ref : TheFishSite News Desk
ဆုပ္လည္း စူး စားလည္းရူး
မုန္တိုင္းဒဏ္သင့္ ျပည္သူမ်ား ပံုမွန္ အေျခအေနသို႔ ျပန္လည္ေရာက္႐ွိေအာင္ စစ္အစိုးရမွ လုပ္ေဆာင္ေပးႏိုင္လိမ့္မည္ဟု ေသြးနားထင္ ေရာက္ေနပံုရသည္။ အေမရိကန္၊ ဥေရာပႏိုင္ငံမ်ားႏွင့္ အျခားေသာ ႏိုင္ငံမ်ားမွ အကူအညီ ေထာက္ပံ့မႈမ်ားကို အပူတျပင္း လိုအပ္ေနေသာ္လည္း ထိေရာက္သည့္ အကူအညီမ်ားေပးရန္ လိုအပ္သည့္ စူးစမ္းေလ့လာမႈမ်ား ျပဳလုပ္မည့္ ေ႐ွ႕ေျပးအဖြဲ႕မ်ား၏ ျပည္၀င္ခြင့္ဗီဇာမ်ားကို လ်င္ျမန္စြာ ေဆာင္႐ြက္ေပးျခင္း မ႐ွိဘဲ ေႏွာင့္ေႏွးလ်က္ ႐ွိျခင္းေၾကာင့္ ႏိုင္ငံတကာမွ အားမလို အားမရျဖစ္ကာ စစ္အစိုးရကို ဖိအားေပးေနၾကသည္။ မုန္တိုင္းဒဏ္သင့္ရာ ေဒသမ်ား႐ွိ လမ္းမ်ား၊ တံတားမ်ား စသည္တို႔ ပ်က္စီးယိုယြင္းျခင္းေၾကာင့္
လမ္းပန္းဆက္သြယ္မႈ ခက္ခဲကာ အကူအညီမ်ား အခ်ိန္မီ ထိထိေရာက္ေရာက္ မေပးႏိုင္ဘဲ ႐ွိေနသည္။ ထိုသို႔ေသာ အေျခအေနမ်ဳိးတြင္ ေထာက္ပံ့ကူညီမႈမ်ား ေပးပို႔ႏိုင္ရန္ အတြက္ စြမ္းရည္ျပည့္၀သည့္ ရဟတ္ယာဥ္မ်ား အေျမာက္အျမား လိုအပ္သည္။ ျမန္မာစစ္အစိုးရတြင္ လံုေလာက္သည့္ ရဟတ္ယာဥ္ အလံုအေလာက္ မ႐ွိေပ။ အေမရိကန္ သမၼတ ေဂ်ာ့ဘု႐ွ္က ျမန္မာစစ္ဗိုလ္ခ်ဳပ္မ်ားအား ေဘးဒုကၡေရာက္ေနသည့္ ျမန္မာျပည္သူမ်ားအား ကူညီခြင့္ ျပဳပါဟု ကမ္းလွမ္း လာခဲ့သည္။ ေလယာဥ္မ်ား၊ ရဟတ္ယာဥ္မ်ား၊ မရိန္းတပ္သားမ်ား တင္ေဆာင္လာသည့္ အေမရိကန္ စစ္သေဘၤာမ်ားကလည္း ထိုင္၀မ္ႏွင့္ ပူးေပါင္းၿပီး သဘာ၀ေဘးအႏၱရာယ္ ကာကြယ္ေရး ေလ့က်င့္မႈ ေဆာင္႐ြက္ေနရာမွ ထိုင္းႏိုင္ငံသို႔ ေရာက္႐ွိကာ အသင့္ေစာင့္ဆိုင္း ေနၿပီျဖစ္သည္။ အေမရိကန္က ၀င္ေရာက္ သိမ္းမည္ကို စိုးသျဖင့္ အစိုးရိမ္လြန္ေၾကာက္႐ြံ႕ကာ ေနျပည္ေတာ္သို႔ ေျပာင္းေ႐ႊ႕ခဲ့ေသာ စစ္ဗိုလ္ခ်ဳပ္မ်ားအေနျဖင့္ ယခုကဲ့သို႔ အေမရိကန္မွ အကူအညီ ေပးရန္ ကမ္းလွမ္းလာသည့္ အခါ ဆုပ္လည္းစူး စားလည္း႐ူး အေျခအေနတြင္ ေရာက္႐ွိေနသည္။
ျမန္မာစစ္အစိုးရ အားထားသည့္ တ႐ုတ္ႏိုင္ငံအေနႏွင့္ အကူအညီ ေဒၚလာတစ္သန္းႏွင့္ ၅ သန္းတန္ဖိုး႐ွိ ပစၥည္းမ်ား လွဴဒါန္းမည္ဟု ေၾကညာခဲ့ေသာ္လည္း ၄င္းမွာ အေ၀းေရာက္ကူညီမႈသက္သက္သာ ျဖစ္ၿပီး အေမရိကန္ကဲ့သို႔ ထိေရာက္သည့္ လက္ကမ္းကူညီမႈမ်ား ျပဳလုပ္ကမ္းလွမ္းရန္ ပ်က္ကြက္ခဲ့သည္မွာ အံ့ၾသဖြယ္ရာ ျဖစ္သည္။ တ႐ုတ္ႏိုင္ငံကသာ အေမရိကန္ကဲ့သို႔ ကမ္းလွမ္းလာမည္ ဆိုပါက စစ္ဗိုလ္ခ်ဳပ္မ်ား အေနႏွင့္ ၀မ္းေျမာက္၀မ္းသာ လက္ခံမည္မွာ ေျမႀကီးလက္ခတ္မလြဲ ျဖစ္သည္။ သို႔ေသာ္
လက္႐ွိ အေျခအေနက စစ္အစိုးရအတြက္ အခက္ေတြ႕ေစသည္။ အေမရိကန္၏ အကူအညီေပးရန္ ကမ္းလွမ္းလာမႈကို ပယ္ခ်လိုက္ပါက မုန္တိုင္းဒဏ္ခံေဒသမႈ ျပည္သူမ်ားကို ကယ္ဆယ္ေထာက္ပံ့ေရး ျပန္လည္ထူေထာင္ေရး လုပ္ငန္းမ်ား ျပဳလုပ္ေပးရာတြင္ ဆံုး႐ႈံးနစ္နာမႈ အလြန္ ႀကီးမားမည္မွာ အေသအခ်ာျဖစ္သည္။ စစ္အစိုးရ အေနျဖင့္ တရားေသ စြဲကိုင္လာေသာ အေမရိကန္ ဆန္႔က်င္ေရး မူ၀ါဒအရ ျပည္သူမ်ား၏ မ်က္လံုးတြင္ အေမရိကန္ကို ကယ္တင္႐ွင္မ်ားအျဖစ္ ျမင္သြားမည္ကို မလိုလား။ အေမရိကန္သည္ အျခားႏိုင္ငံမ်ား၏ ျပည္တြင္းေရးတြင္ ၀င္ေရာက္စြက္ဖက္ေလ့႐ွိသည့္ ႏိုင္ငံတစ္ခု၊ လက္၀ါးႀကီးအုပ္ စိုးမိုးလိုသည့္ ေခတ္သစ္နယ္ခ်ဲ႕ႏိုင္ငံတစ္ခု ဟုသာ
ျမင္ေစလိုသည္။ ထို႔အျပင္ အေမရိကန္၏ အကူအညီကို လက္ခံကာ ျမန္မာျပည္တြင္းသို႔ ၀င္ေရာက္ ကူညီခြင့္ ေပးလိုက္ပါက နဂိုကတည္းက စစ္အစိုးရကို ႐ြံ႐ွာမုန္းတီးကာ အေမရိကန္တပ္မ်ားကို ေမွ်ာ္လင့္ေတာင့္တေနၾကသည့္ ျမန္မာျပည္သူမ်ားအတြက္ အားကိုးရာျဖစ္လာလိမ့္မည္ကို စိုးရိမ္စိတ္လြန္ကဲ ေနၾကသည္။ မုန္တိုင္းဒဏ္ခံ ျပည္သူမ်ားကို ကူညီရန္ ေရာက္လာမည့္ အေမရိကန္ အကူအညီမ်ား အားကိုးျဖင့္ ဆႏၵျပမႈမ်ား ထပ္မံ ျဖစ္ပြားလာၿပီး အဆံုးတြင္ အာဏာကို လက္လႊတ္ရမည္ကို ေတြးမိၾကေပမည္။ ထို႔ေၾကာင့္ အာဏာ တည္ၿမဲေရးကိုသာ အစဥ္တစိုက္ အေရးေပးခဲ့သည့္ ျမန္မာစစ္ဗိုလ္ခ်ဳပ္မ်ား အေနျဖင့္ ျမန္မာျပည္သူမ်ား ေထာင္ေပါင္းမ်ားစြာ ေသေၾကပ်က္စီးၿပီး သန္းႏွင့္ခ်ီကာ အိုးမဲ့အိမ္မဲ့ ျဖစ္ၾကသည့္ အေရးထက္ ၄င္းတို႔ အာဏာလက္မလႊတ္ရေရး အတြက္ အႀကံအိုက္ေနၾကသည္။ ေသခ်ာသည္ကေတာ့ ျမန္မာ စစ္အစိုးရ အေနျဖင့္ လက္႐ွိအေျခအေနတြင္ ဆုပ္လည္းစူး စားလည္း႐ူး အေျခအေနသို႔ ေရာက္ေနျခင္း ျဖစ္သည္။ အမ်ဳိးသားဒီမိုကေရစီအဖြဲ႕ခ်ဳပ္ႏွင့္ ျပည္တြင္း ျပည္ပ႐ွိ အျခားေသာ ႏိုင္ငံေရးအဖြဲ႕အစည္းမ်ား အေနျဖင့္ ႏိုင္ငံတကာ အာ႐ံုစိုက္မႈမ်ား ရ႐ွိေနေသာ ယခုလို အခ်ိန္အခါတြင္ စစ္အစိုးရအခက္ ျမန္မာျပည္သူအခ်က္ဟု သေဘာထားကာ လိုအပ္လွ်င္ လိုအပ္သလို ႏိုင္ငံေရး ေရခ်ိန္ ျမွင့္တင္ႏိုင္ရန္အတြက္ ႀကိဳတင္ ျပင္ဆင္မႈမ်ား ျပဳလုပ္ထားသင့္ေၾကာင္း တိုက္တြန္း လိုက္ရပါသည္။
ညီညီ(သံလြင္)
Labels: ႏိုင္ငံေရး
Tuesday, May 6, 2008
เมืองมะลิวัน on Thai History Record
เมืองมะลิวัน
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว อังกฤษได้มาปกครองเมืองตะนาวศรีและ
เมืองมะริด ซึ่งเป็นเมืองขึ้นของไทยในครั้งก่อน อังกฤษขอปันเขตแดนระหว่างไทยกับอังกฤษ ณ เมืองมะลิวัน โดยกำหนดให้แม่น้ำกระบุรีเป็นเขตแดนฝ่ายไทย ส่วนเขตแดนอังกฤษอยู่เพียงแนวเขาเป็นเขต โดยถือเอาแม่น้ำปากจั่นเป็นฝ่ายไทย จึงโปรดเกล้าให้พระยายมราชสุด (จ๋อ) กับพระยาเพชรกำแหงสงคราม(ครุฑ) ไปเจรจากับอังกฤษ แต่ไม่เป็นที่ตกลง จนถึงรัชกาลที่ ๔ โปรดให้พระยาเพชรบุรี พระยาเพชรกำแหงสงคราม และพระยาชุมพร (กล่อม) ไปเจรจาปันเขตแดน ด้วยทรงพระราชดำริเห็นว่า ความเรื่องนี้ ๒ แผ่นดินแล้วยังไม่ตกลงกันได้ควรประนีประนอมผ่อนผัน จึงให้กรรมการปันเขตแดนทั้ง ๒ ท่านทำความตกลงเอง โดยถือเอาแม่น้ำกระบุรีเป็นเขตแต่มีข้อสัญญาปลีกย่อยเรื่องโจรผู้ร้ายข้ามแดนอังกฤษ เมืองมะลิวันซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นชุมพรและเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรไทย จึงตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษด้วยความจำเป็น เมื่อปีชวดพุทธศักราช ๒๔๐๗ เมืองมะลิวันเมื่อขึ้นอยู่กับอังกฤษตั้งชื่อว่า Victoria Point ไทยเรียกว่าเกาะสอง ขณะนี้เป็นอำเภอชั้นเอก ขึ้นอยู่กับเขตทวาย จังหวัดมะริด ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า
Read More......Myanmar Cyclone Data in Google Earth
Over the weekend, Tropical Cyclone Nargis struck Myanmar as a category 4 storm with winds greater than 115 knots. The storms caused terrible flooding as well, and thousands of lives were lost. The UN Institute for Training and Research Operational Satellite Applications Programme (UNOSAT) regularly creates maps to track disaster situations and has released a visualization for Google Earth showing the track and strength of the storm and the extent of flooding which resulted. via Google LatLong Blog.
Also, here are a couple of NASA satellite photos of the storm before it struck and as it was over Myanmar. via GEarthHacks and NASA.
Labels: Earth-Weather-Travel, Local
Kawthaung Glimpse 2008
Blog Archive
-
▼
2008
(172)
-
▼
May
(22)
- Crime Against Humanity?
- ပင္လယ္ ငါးဖမ္း လုပ္ငန္းမ်ား ေမလအကုန္ စတင္ႏုိင္ရန္ ...
- Let them eat frogs
- ระนองจะไม่ขาดแคลนน้ำ
- Why Thai Fuel Price 40B stills Raw Crude Oil aroun...
- ปลาหมึกเลี้ยงในกระชังได้
- Cold-fusion demonstration "a success"
- จับกระแส : โครงการปลูกต้นสบู่ดำ พลังงานทางเลือกหรื...
- Forget the bulb: world’s first illuminating glass
- DEATH-TRUCK TRAGEDY : Burmese survivors sent home
- โฆษณาน้ำยาบ้วนปาก Listerine
- Stock investment, with safety
- 'มาม่า' ซองละ 50 บาท + พม่าอ่วม! ขาดแคลนน้ำ-อาหารร...
- ไทยชงพม่าลดเวลาอยู่ในพท.ชายแดน จาก7วันเหลือเช้ามาเ...
- พม่าอัตคัดปันส่วนข้าวคนละ5กก.
- Thais invited to help build deep-sea port at Tavoy...
- Rain threatens Myanmar survivors
- ชาวพม่าเกาะสองร่วมลงประชามติ รธน.ราบรื่น
- Nargis Cyclone Hits Myanmar Aquaculture Industry
- ဆုပ္လည္း စူး စားလည္းရူး
- เมืองมะลิวัน on Thai History Record
- Myanmar Cyclone Data in Google Earth
-
▼
May
(22)
Visitors
Visitor Link
Misc Synopsis
- ကံေကာင္းေသာ လူငယ္မ်ားသည္ သူ႔ဘဝတြင္ "ဘယ္စာကိုဖတ္၊ ဘယ္စာကို မဖတ္နဲ႔" ဟူေသာ အၾကံေပးခ်က္မ်ိဳး ရ႐ွိခဲ့၏။ ကံဆိုးေသာ လူငယ္မ်ားသည္ ဘာအၾကံေပးခ်က္မွ မရွိပါ။ ထိုအမ်ိဳးအစားထဲမွ စိတ္ဓာတ္အင္အား ျပည့္စံုေသာ လူငယ္မ်ား၊ ႀကိဳးစားလိုေသာ လူငယ္မ်ား၊ ႐ွာေဖြစူးစမ္းလိုေသာ လူငယ္မ်ားသည္ မည္သူ႔အကူအညီမွ် မပါဝင္ဘဲ မိမိတို႔ဘာသာ သင့္ေတာ္ရာရာကို ေ႐ြးခ်ယ္ သြားတတ္ၾကသည္။ တခ်ိဳ႔ကေတာ့ သူတို႔ ဘာကိုလိုခ်င္မွန္း သူတို႔ကိုယ္တိုင္ မသိသူမ်ား ျဖစ္ၾကပါသည္။ ေလာကတြင္ မိမိဘာ လိုခ်င္သည္ဟု မွန္ကန္စြာသိ၍ မိမိ လိုခ်င္ေသာ အရာကို ရေအာင္ယူႏိုင္ေသာ လူငယ္မ်ားလည္း ႐ွိၾကသည္။ လူတေယာက္ မိမိဘဝတြင္ ဘာလိုခ်င္သည္ ဟု အတိအက် သိလာ ရန္ စာအုပ္မ်ားစြာက တြန္းအားေပးႏိုင္သည္ဟု ကြၽန္မ ထင္ပါသည္။ ဂ်ဴး
- ဂန္ဘာရီနဲ ့နအဖ တို ့ရဲ ့ကေလးကလား လုပ္ရပ္မ်ား - နဖအ က ေဒၚစုကို ေနအိမ္မွာအက်ယ္ခ်ဳပ္ခ်ထားတာ တကမၻာလံုးသိပါတယ္။ ဘယ္လိုေနအိမ္မွာအက်ယ္ခ်ဳပ္ခ်ထားလဲဆိုရင္ အိမ္ေရွ ့တခါးကိုေသာ့နဲ ့ခတ္ထားတယ္။ ေဒၚစုျခံ၀န္းထဲမွာ စစ္တပ္ခ်ထားတယ္။ ေဒၚစုကို ေတြ ့ခ်င္တယ္တဲ့သူေတြက သူတို ့က ၀င္ေစဆိုတဲ့အမိန္ ့ရမွာ၀င္လို ့ရတယ္။ ေဒၚစု ရဲ က်မာေရးကို တာ၀န္ခံထားတဲ့ေဒါက္တာတင္မ်ိဳး၀င္းေတာင္ ၀င္ေတြ ့ျခင္တိုင္း၀င္ေတြ ့လို ့မရဘူး။ သန္းေရြ ရဲ ့ခြင့္ျပဳခ်က္ရမွေဒၚစုကိုေတြ ့ခြင့္ရတယ္။ ေဒၚစုေရွ ေနက ေဒၚစုကို ေတြ ့ျခင္တိုင္းေတြ ့လို ့မရဘူး။ အန္အဲလ္ဒီစီအီစီ ဆိုရင္လည္း ေဒၚစုကို အိမ္မွာေတာင္ေတြ ့ခြင့္မရၾကဘူး။ ဒီလို အေျခအေနမ်ိဳးမွာ ဂန္ဘာရီ ကိုယ္စားလွယ္နဲ ့ နအဖ ကိုယ္စားလွယ္က ေဒၚစုအိမ္ေရွ ့ကိုသြားျပီး ေဒၚေအာင္ဆန္းစုၾကည္ ဂန္ ဘာရီက ေတြ ့ျခင္လို ့ပါလို ့ အိမ္ေရွ ့ကေန ေလာစပီကာနဲ ့သြားေအာ္ေနတာ အေတာ့ကို ကေလးကလားဆန္ျပီ အရူးထတဲ့လုပ္ရပ္ျဖစ္ပါတယ္။ က်ေနာ္ေမးျခင္တာက သူတို ့မွာ ေဒၚစုအိမ္ကိုခတ္ထားတဲ့ေသာ့ရိွရဲ ့သားနဲ ့ဖြင့္ျပီး ၀င္သြားလိုက္ၾကပါလား။ အိမ္ကိုေသာ့ခတ္ထားတဲ့သူက တခါးဖြင့္ေပးပါလို ့ေအာ္ေနတာကေတာ့ အေတာကိုညဏ္နည္းလွၾကပါတယ္။ Ko Moe Thee Blog
- အဲဒီသ၀ဏ္လႊာနဲ႔ ပတ္သက္ၿပီး မေလးရွား၀န္ႀကီးခ်ဳပ္ ဘာဒါ၀ီက ျမန္မာႏိုင္ငံအေနနဲ႔ အာဆီယံရဲ႕ ျပည္တြင္း ေရး မစြက္ဖက္ေရးမူကို အကာအကြယ္မယူသင့္ဘူးလို႔ မိန္႔ခြန္းမွာ ထည့္သြင္းေျပာၾကားသြားပါတယ္။ ဒါ့အျပင္ အာဆီယံရဲ႕ အဓိကအဖြဲ႔၀င္ႏိုင္ငံျဖစ္တဲ့ မေလးရွားႏိုင္ငံက အဖြဲ႔ႀကီးရဲ႕ အဓိကမူတရပ္ျဖစ္တဲ့ ျပည္တြင္းေရး မစြက္ဖက္ေရးမူကို ျပန္လည္အနက္အဓိပၸၸၸၸၸါယ္ ဖြင့္ဆိုသင့္ၿပီလို႔ ေျပာၾကားခဲ့ပါတယ္။ / Dr.LwanSwe
- ရွစ္ေလးလံုး အေရးအခင္းနဲ႔အတူ နာဂစ္မုန္တိုင္းအေပၚ စစ္အစိုးရ တံု႔ျပန္မႈဟာ ျမန္မာႏိုင္ငံတြင္း မွာရွိတဲ့ အႀကီးမားဆံုး လူ႔အခြင့္အေရး ခ်ိဳးေဖာက္မႈေတြရဲ႕ “နိဂံုး” ျဖစ္မယ္လုိ႔ လူအမ်ားစုက ေမွ်ာ္ လင့္ထားၾကတယ္။ ဒါေပမယ့္ နိဂံုးျဖစ္ျဖစ္၊ မျဖစ္ျဖစ္ ဒီတႀကိမ္ေတာ့ ျမန္မာ့အေရးဟာ ျမန္မာ ႏိုင္ငံသားေတြ (“၈၈မ်ိဳးဆက္” ေက်ာင္းသားေတြဟာ ရဲ၀ံ့စြာနဲ႔ ေရွ႕ကေန ဦးေဆာင္ေနတယ္) တင္ မကေတာ့ဘူး ကုလသမဂၢ လံုျခံဳေရးေကာင္စီနဲ႔ ျမန္မာႏိုင္ငံရဲ႕ အာရွအိမ္နီးခ်င္းႏိုင္ငံေတြရဲ႕ ႏိုင္ငံေရး ဆႏၵေပၚမွာလည္း မူတည္ေနပါတယ္။ အႏွစ္ (၂၀) ဆိုတာ ရွည္လ်ားတဲ့ အခ်ိန္ကာလ ျဖစ္ေပမယ့္ သိပ္ေတာ့ ေနာက္မက်ေသးပါဘူး။ / New Era Journal
- Failed States Index 2008 - အားလံုးေပါင္း ၁၂ ခုရွိတဲ့ စံညႊန္းေတြထဲမွာ ျမန္မာႏိုင္ငံဟာ လူ႔အခြင့္အေရးစံညႊန္းမွာ အဖိႏွိပ္ခံရဆံုး တဖက္စြန္းမွာေရာက္ေနၿပီး ျပည္ပစြက္ဖက္မႈမွာေတာ့ အေစာကေရးသလို အနည္းဆံုးပါ၊ ဒီႏွစ္ခုက အမ်ားဆံုး နဲ႔ အနည္းဆံုး အစြန္းႏွစ္ဖက္ ေရာက္ေနတာကလြဲလို႔ က်န္တာေတြက ထိပ္ဆံုးမေရာက္တေရာက္မွာ။ ၂၀၀၅ တုန္းက ထိပ္ဆံုး ၂၀ ထဲမွာ ျမန္မာမပါဘူး၊ ၂၀၀၆ က်ေတာ့ နံပါတ္ ၁၈ နဲ႔ အေရွ႔တက္လာတယ္၊ ၂၀၀၇ မွာ အဆင့္ ၁၄၊ ေဟာ၊ အခု ၂၀၀၈ မွာ အဆင့္ ၁၂ ျဖစ္သြားၿပီ။ ဒီလို တႏိုင္ငံလံုးခ်ီၿပီး ညံ့ဖ်င္းေနတာ ဦးေဆာင္လမ္းျပေနတဲ့ေခါင္းေဆာင္ တာဝန္မကင္းဘူး၊ ဒါေၾကာင့္ ႏိုင္ငံေတြစာရင္းအျပင္ ေခါင္းေဆာင္ေတြရဲ့ စာရင္းကိုလည္း ျပဳစုထုတ္ျပန္ထားတယ္။ Degolar